Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศาสตราจารย์ ดร.อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorศาสตราจารย์เกียรติคุณ สายชล สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี-
dc.contributor.authorสิรีธร ถาวรวงศาen_US
dc.date.accessioned2020-08-25T01:09:27Z-
dc.date.available2020-08-25T01:09:27Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69719-
dc.description.abstractThis thesis proposes that the economic changes in the Hokchiu community in Na Bon District, Nakhon Si Thammarat Province, which were closely related to rubber production and trade, impacted social and cultural relations. The migration and settlement of the Hokchiu in a pioneering era of rubber planting was built on the use of “Chinese social relations” underlined by “Hokchiu ethnic consciousness”. This consciousness was linked through social networks formed by kinship, both real and fictive, that reinforced Hokchiu collective identity in Na Bon. Hence, the economic and social lives of those in the Hokchiu community were embedded as one. When the economic life of the Hokchiu changed in relation to the modern rubber industry, the Hokchiu had to form close links with Thai state and market. These changes, conditioned by unequal access to economic resources, led to class diversification in the community and resulted in the classification of the Hokchiu into three groups: high-income, middle-income and low-income groups. The changes brought by the modern rubber industry separated the social and economic lives of the Hokchiu that were once embedded. As “the Hokchiu social relations” that had been the core of ฌ economic interdependence in the community waned, relationships in the community became more commercial. In summary, the rich, middle and poor Hokchiu, were able to adapt to the changes of the constantly changing world of rubber production and trade. In adapting to modern rubber production and trade which was closely connected to the national and international market, they formed an “economic network” which affected relationships in their community. The previously tight social relations became loose. The relations in the Hokchiu community then became superficial and relied on abstract social and cultural norms of Chineseness as social glue. In other words, the relationships in the community that had been based on kinship, both real and fictive, was transformed into more commercial ones under the changing context of the modern rubber plantation and trade industry.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชนen_US
dc.subjectพลวัตทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectชุมชน จีนฮกจิวen_US
dc.titleพลวัตทางเศรษฐกิจและความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมชน จีนฮกจิวในอำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราชen_US
dc.title.alternativeDynamics of Economy and Social Relations of the "Hokchiu" Chinese Community in Na Bon District, Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายในการเสนอว่า ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของชุมชนชาวจีน ฮกจิว อำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช ในแต่ละห้วงเวลา ซึ่งสัมพันธ์กับวิถีการผลิตและการค้า ยางพารา ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม การอพยพและตั้งถิ่นฐานของชาวจีนฮกจิวในยุคบุกเบิกยางพารา มีการหยิบยืม “ระบบ ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบจีน” มาใช้อย่างเหนียวแน่นผ่านการผูก “สำนึกความเป็นชาติพันธุ์จีน ฮกจิว” ที่มีการยึดโยงกันด้วยเครือข่ายทางสังคมของชาวจีนฮกจิว ภายใต้ระบบ “ความสัมพันธ์ เครือญาติ/เครือญาติเสมือน/ความเป็นจีนฮกจิว” ชีวิตทางเศรษฐกิจและชีวิตทางสังคมจึงแฝงฝัง (Embedded) เป็นส่วนเดียวกันอย่างแนบแน่น เมื่อชีวิตทางเศรษฐกิจของชาวจีนฮกจิวปรับตัวสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจยางพาราสมัยใหม่ ชาวจีนฮกจิวสามารถเชื่อมต่อกับรัฐและตลาด ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนสถานะและชนชั้นเป็น “รวย ปานกลาง จน” อันเป็นผลจากการเข้าถึงเงื่อนไขและปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ไม่เท่ากัน จากความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภายใต้ระบบเศรษฐกิจยางพาราสมัยใหม่ ทำให้ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ทางสังคมของชาวจีนฮกจิวแยกส่วนออกจากกัน “ระบบความสัมพันธ์ทางสังคม แบบจีน” ครั้งหนึ่งเป็นรากฐานสำคัญที่ชาวจีนฮกจิวยึดโยงเกาะกลุ่มอย่างเหนียวแน่นและเกื้อหนุน ระบบเศรฐกิจยางพารา ได้พร่าเลือนลงแปรเปลี่ยนเป็น “ความสัมพันธ์เชิงพาณิชย์” มากขึ้น ช ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงในวิถีการผลิตและการค้ายางพาราอย่างเข้มข้น ชาวจีนฮกจิวทั้ง รวย ปานกลาง และจน ได้ปรับตัวเข้าร่วมแข่งขันในวิถีการผลิตและการค้ายางพาราอย่างเสมอภาค โดยการปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจยางพาราอันเชื่อมโยงสัมพันธ์กับตลาดยางพารา ระดับประเทศและระดับโลกที่กว้างไกลขึ้น ทำให้ชาวจีนฮกจิวมีการสร้าง “เครือข่ายทางเศรษฐกิจ” ส่งผลให้การจัดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวจีนฮกจิวแปรเปลี่ยนจากเดิม สายใย ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบเดิมได้ลดระดับลงเป็นเพียงความสัมพันธ์ในมิติสังคมวัฒนธรรม ระบบ “ความสัมพันธ์เครือญาติ/เครือญาติเสมือน/ความเป็นจีนฮกจิว” ได้เปลี่ยนไปเป็นลักษณะ “ความสัมพันธ์เชิงพาณิชย์” ที่พึงพิงกับระบบเศรษฐกิจยางพาราสมัยใหม่ที่เข้มข้นมากขึ้นen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570151003 สิรีธร ถาวรวงศา.pdf8.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.