Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr.Teeraporn Saehaew-
dc.contributor.authorZhang Xiaofanen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:52:32Z-
dc.date.available2020-08-21T00:52:32Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69714-
dc.description.abstractThe guesthouse staffs have poor basic Chinese knowledge which causes delivery unclear information service to free independent travel (FIT) tourists. To meet the information communication needs of Chinese free independent travelers (FITs), the Chinese language performance ability of the guesthouse staffs in Thailand are in critical need of improvement as they relatively lack Chinese language ability to communicate with Chinese FIT customers. Regarding this, to bring up the guesthouse staffs’ Chinese language performance, this research proposes a conceptual framework integrating customer knowledge management (CKM), mentoring communities of practice (Mentoring CoPs), and after action review (AAR). And three linguistic theories namely language for specific purpose, language hierarchy of Noam Chomsky and second language acquisition, are carried out to construct and support the implementation of Mentoring CoPs. Objectives aim to i) Identify the specific problems that guesthouse staffs facing in terms of Chinese FITs. ii) Create Chinese for Specific Purpose lessons for Thai guesthouse staffs. iii) Evaluate the effectiveness of Chinese for Specific Purpose lessons. Samples in this research are two Thai staff of the Gord Chiang Mai Guesthouse who are responsible for the reception services. g Language for Specific Purpose is used to extract the active vocabulary and common sentences from the guesthouse service dialogues. Then, Mentoring CoPs is selected to establish a Chinese learning community and deliver Chinese for Specific Purpose lessons. AAR Self-reflection is performed in the end to find out the effectiveness of Chinese for Specific Purpose lessons as well as to track the guesthouse staffs’ Chinese language performance. The pre-test and post-test are used to evaluate the improvement of guesthouse staffs’ Chinese language performance. Besides, Chinese FIT customers are asked to fill in customer satisfaction questionnaire regarding to guesthouse staffs’ Chinese language performance in communication service. Research results illustrated that: i) Guesthouse staffs’ Chinese proficiency improved significantly after the implementation of Mentoring CoPs. A total score of 100, staff A and B got the same pre-test scores at 20 points while in the post-test, staff A and B got 95.67, and 94.33 respectively. ii) The staffs achieved a score of more than 75 (cognitive level-applying) in the post-test, indicating that they can apply the domain knowledge they have learned to solve communication problems in daily reception work; iii) Chinese FITs’ satisfaction with the Chinese language performance of guesthouse staffs increased, especially in terms of sentence integrity and pronunciation accuracy, from average 0.35 (out of 3 points) in December 2019 to 2.40 in February of the following year. Based on the recognition of the results and findings, Chinese Language for Specific Purpose lessons using Mentoring CoPs and Kano Model are feasible to improve the Chinese language performance of guesthouse staffs.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleChinese for Specific Purpose for Thai Guesthouse Staff Using Mentoring CoPs and Kano Modelen_US
dc.title.alternativeภาษาจีนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสำหรับพนักงานเกสต์เฮ้าส์ไทยโดยใช้ชุมชนพี่เลี้ยงนักปฏิบัติและโมเดลคาโนen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพนักงานเกสต์เฮ้าส์ไทยมีความรู้พื้นฐานภาษาจีนค่อนข้างอ่อนส่งผลให้การบริการข้อมูลไม่ ชัดเจนแก่กลุ่มนักท่องเที่ยวแบบอิสระเพื่อเป็นตอบสนองความต้องการการสื่อสารแก่กลุ่ม นักท่องเที่ยวจีนแบบอิสระความสามารถด้านการพูดภาษาจีนของพนักงานเกสต์เฮ้าส์ไทยมีความ จําเป็นต้องปรับปรุงอย่างยิ่ง เนื่องจากพนักงานขาดความสามารถในการใช้ภาษาจีนในการสื่อสารกับ ลูกค้านักท่องเที่ยวชาวจีนแบบอิสระ ในการนี้เพื่อยกระดับความสามารถภาษาจีนของพนักงานเกสต์ เฮ้าส์งานวิจัยชิ้นนี้นําเสนอกรอบแนวคิดโดยบูรณาการหลักการจัดการความรู้ชุมชนพี่เลี้ยงนักปฏิบัติ และการทบทวนผลการปฏิบัติงานและการใช้ 3 ทฤษฎีทางด้านภาษาศาสตร์ดังนี้ ภาษาเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ การจัดลําดับชั้นภาษาของ Noam Chomsky และการเรียนรู้ภาษาที่สองเป็นต้น หลักการทฤษฎีทั้งหมดนี้นํามาสร้างและสนับสนุนการดําเนินงานชุมชนพี่เลี้ยงนักปฏิบัติ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ระบุปัญหาเฉพาะที่พนักงานของเกสต์เฮ้าส์เผชิญกับนักท่องเที่ยวจีนแบบอิสระ 2) สร้างบทเรียนภาษาจีนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสําหรับพนักงานเกสต์เฮ้าส์ไทย 3) ประเมิน ประสิทธิภาพบทเรียนภาษาจีนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้คือพนักงานสัญชาติ ไทยที่กอดเชียงใหม่เกสต์เฮ้าส์ จํานวน 2 คนทําหน้าที่บริการต้อนรับ e See ภาษาเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะนํามาใช้สกัดแยกแยะคําศัพท์ในการใช้งานและประโยค เพื่อการสื่อสารจากบทสนทนาการ ให้บริการเกสต์เฮ้าส์ หลังจากนั้นชุมชนพี่เลี้ยงนักปฏิบัตินํามาสร้าง ชุมชนการเรียนรู้ภาษาจีนและสอนบทเรียนภาษาจีนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะการทบทวนหลัง การปฏิบัติงานถูกนํามาใช้ขั้นตอนสุดท้ายเพื่อค้นหาประสิทธิภาพของบทเรียนภาษาจีนเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะรวมถึงติดตามความสามารถการใช้ภาษาจีนของพนักงานเกสต์เฮ้าส์การวัดผลก่อน และหลังการเรียน ถูกนำมาใช้ประเมินพัฒนาการความสามารถภาษาจีนของพนักงานเกสต์เฮ้าส์ นอกจากนี้ลูกค้านักท่องเที่ยวแบบอิสระชาวจีนกรอกแบบสอบถามความพึงพอใจต่อความสามารถ การสื่อสารภาษาจีนของพนักงานเกสต์เฮ้าส์ ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสามารถภาษาจีนของพนักงานเกสต์เฮ้าส์ดีขึ้นอย่างมากหลงัจากทดลองใช้ชุมชนพี่เลี้ยงนัก ปฏิบัติกล่าวคือคะแนนเต็ม 100 คะแนน พนักงานคนที่ 1 และ พนักงานคนที่ 2 คะแนนก่อนเรียนได้เท่ากันอยู่ที่20คะแนน ขณะที่ทดสอบหลังเรียน พนักงานคนที่ 1 และ พนักงานคนที่2ได้คะแนน ดังนี้ 95.67 และ 94.33 ตามลำดับ 2. ทดสอบหลังเรียน พนักงานมีผลคะแนนมากกว่า 75คะแนน (ระดับความรู้ความเข้าใจ) แสดงให้เห็นว่า พนักงานสามารถใช้ความรู้จากบทเรียนที่ได้เรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาการสื่อสารในงานต้อนรับทุกวัน 3. ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวแบบอิสระชาวจีนต่อสมรรถนะด้านทักษะภาษาจีนของพนักงานเกสต์เฮ้าส์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะความสมบูรณ์ของประโยคและการออกเสียง จากค่าเฉลี่ย 0.35 (คะแนนเต็ม 3คะแนน) ในเดือนธันวาคม 2563 เป็นค่าเฉลี่ยเท่ากบั 2.40 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ผลจากการศึกษาและข้อสรุปพบว่า ภาษาจีนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสำหรับพนักงานเกสต์เฮ้าส์ ไทยโดยใช้ชุมชนพี่เลี้ยงนักปฏิบัติและโมเดลคาโนสามารถเพิ่มสมรรถนะด้านภาษาจีนของพนักงาน เกสต์เฮ้าส์ได้en_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132011 XIAOFAN ZHANG.pdf15.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.