Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาริน เชาวทัต-
dc.contributor.authorบุศรากร สุพิชยาen_US
dc.date.accessioned2020-08-20T01:03:58Z-
dc.date.available2020-08-20T01:03:58Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69679-
dc.description.abstractThis thesis proposes the American Sign Language Alphabet Recognition Using a Static and Dynamic Mixing Technique of Ensemble Classification Combining with Convolutional Neural Networks to recognize the American Sign Language alphabets that have both dynamic and static hand gestures. Sign Language is an important tool to communicate between people who impaired hearing. So, this model is evaluated to help and interpret the gesture to character or text that normal people is able to understand. Then Generative Adversarial Networks (GANs) method is used to generate the synthetic data to increase the diversity and size of dataset. In this ensemble approach, consists of Convolutional Neural Networks that combined with 3 methods are 1. Support Vector Machine (SVM) 2. k-Nearest Neighbor (k-NN) and 3. Long Short-Term Memory (LSTM), then using the voting method to classify the final output. The experimental results demonstrated that the accuracy of the proposes method is over 99% and also this model can recognize both static and dynamic hand gestures that cover all of American Sign Language alphabet gestures.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรู้จำตัวอักษรภาษามือแบบอเมริกันโดยใช้เทคนิคการผสมเชิงสถิตและพลวัตของการจำแนกร่วมกันร่วมกับโครงข่ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการen_US
dc.title.alternativeAmerican Sign Language Alphabet Recognition Using a Static and Dynamic Mixing Technique of Ensemble Classification Combining with Convolutional Neural Networksen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้นําเสนอการรู้จําตัวอักษรภาษามือแบบอเมริกัน โดยใช้เทคนิคการผสมเชิงสถิต และพลวัตของการจําแนกร่วมกันร่วมกับโครงข่ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการ เพื่อทําการรู้จํา ลักษณะท่าทางของตัวอักษรภาษามือแบบอเมริกันที่ประกอบไปด้วยท่าทางแบบสถิตและพลวัต ซึ่งภาษามือนั้นเป็นเครื่องมือสําคัญในการสื่อสารกันระหว่างผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน โดย แบบจําลองที่ได้พัฒนาขึ้นมานี้จะช่วยในการแปลความหมายของลักษณะท่าทางภาษามือให้เป็น ตัวอักษรหรือข้อความทําให้คนปกติสามารถเข้าใจลักษณะท่าทางของมือได้ รวมถึงได้ใช้วิธีโครงข่าย แบบตรงกันข้ามเข้ามาช่วยในการสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อเพิ่มจํานวนและความหลากหลายของข้อมูลให้ มากขึ้นทั้งนี้วิธีการจําแนกร่วมกันนั้นประกอบไปด้วยโครงข่ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการที่ผสม กับอีก 3 วิธีการ คือ 1. ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน 2. วิธีเพื่อนบ้านใกล้เคียง และ 3. หน่วยความจําระยะสั้นแบบยาว จากนั้นใช้วิธีการโหวตในการให้คําสอบสุดท้ายเพื่อระบุท่าทางของภาษามือ จากผลการทดลองพบว่า แบบจําลองการรู้จําตัวอักษรภาษามือแบบอเมริกันที่ได้นําเสนอขึ้นมานั้นมีอัตราความถูกต้องในการรู้จําถึง 99% ทั้งนี้แบบจําลองที่ได้นําเสนอนั้นสามารถรู้จําได้ครอบคลุมทุกลักษณะของตัวอักษรภาษามือแบบอเมริกันen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531051 บุศรากร สุพิชยา.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.