Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr.Pradorn Sureephong-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr.Worawit Janchai-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr.Napaporn Reeveerakul-
dc.contributor.authorYootthapong Tongpaengen_US
dc.date.accessioned2020-08-20T01:03:32Z-
dc.date.available2020-08-20T01:03:32Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69674-
dc.description.abstractIn Southeast Asia, Thai dance is a living traditional art form that belongs to the Intangible Cultural Heritage (ICH) listed by UNESCO. This unique and stylized traditional dance portrays its history, culture, emotional expression, body movement, etc. Teaching and learning Thai dance is passing on generations to generations with one on one teaching and practicing form teacher to student. However, the number of Thai dance teachers is dramatically reduced year by year, as well as Thai dance students. Nevertheless, to archive Thai dance knowledge from Thai dance teachers is challenging, which is transferring Tacit Knowledge to Explicit Knowledge. Also, not widespread universal platforms such as Dance Notation System had been used to archive the Thai dance movement in Thailand. The purpose of this thesis is arm to transform Tacit Knowledge of Thai dance to Explicit Knowledge. To design Human-Readable information and Machine-Readable information. To develop Machine-Readable information for dance notation score, which can be translated to represent Thai dance in human figure posture image. To evaluate Machine-Readable information which able to support the Thai dance training system. The context is the first level where the Knowledge Audit is to acquire Thai dance knowledge from Thai dance teachers, understand the learning and teaching process of Thai dance, understand Thai dance student’s learning process. To transform Tacit Knowledge from the teacher into Explicit Knowledge. The second level is Knowledge Archive, where to archive tacit knowledge into explicit knowledge based on a performance model. Two separating processes, the first process is Laban scores process [KAR-P1-A] by record video and archiving the movement as Laban scores. The second process is the motion capture process [KAR-P1-B], archiving the movement using a motion capture system. The third level is Knowledge Visualization were to visualize explicit knowledge using two separate processes. First, ThaiLabanXML standard [KVP1-A] is to implement the program called “Drag & Drop Thai Laban score,” which provides the user to archive Thai Laban score with 3D human figure movement display. Second, the Thai dance training tool process [KV-P1-B] is implementing a game arcade called “Thai dance training tool,” which provides Thai dance students to learn and practice Thai dance movement with the feedback of each body part scores, total scores, and leaderboard. The four levels are Knowledge Transfer was to evaluate the user knowledge using two implemented systems; Assessment [KT-P1-A]: Drag & Drop Thai Laban score program and Assessment [KT-P1-B]: Thai dance training tool. Drag & Drop Thai Laban score system and Thai dance training tool is the outcome of the research framework that applied at the dance school as our case study. Drag & Drop Thai Laban score system allows the user to archive the Thai dance movement with a 3D human figure display. Correspondingly, the Thai dance training tool system allows the students to practice the Thai dance movement according to their curriculum. Furthermore, the result of implementation presented to transfer knowledge to Thai dance students and feedback back from them.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleTraditional Thai Dance Knowledge Archiving and Visualization Using Dance Notation Methoden_US
dc.title.alternativeการเก็บองค์ความรู้ท่ารำไทยเดิมและการแสดงผลโดยใช้วิธีการจดบันทึกการเต้นen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รําไทยเป็นรูปแบบศิลปะดั้งเดิมที่ยังคงอยู่ซึ่งเป็น “มรดกทางวัฒนธรรมที่ จับต้องไม่ได้ ที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโกได้ระบุ ไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ซึ่งท่ารําไทยนี้เป็นรูปแบบที่ดั้งเดิมและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อีก ทั้งยังมีความอ่อนช้อยที่แสดงถึงประวัติศาสตร์วัฒนธรรมไทย การแสดงออกทางอารมณ์ และการ เคลื่อนไหวของร่างกายที่งดงาม ซึ่งการเรียนการสอนรําไทยนั้นจะเป็นไปในรูปแบบการส่งต่อความรู้ จากรุ่นสู่รุ่นด้วยการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวแต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันจํานวนครูสอนรําไทย ลดลงอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ปี เฉกเช่นเดียวกันกับจํานวนนักเรียนที่เข้าเรียนศึกษาในสถาบันรําไทย อีกทั้งการจัดเก็บและบันทึกองค์ความรู้แบบฝังลึกจากผู้เชี่ยวชาญก็เป็นสิ่งที่ท้าทายในการถ่ายทอด องค์ความรู้แบบฝังลึกนั้นไปในรูปแบบขององค์ความรู้แบบชัดแจ้ง นอกจากนี้วิธีการจดบันทึกท่าเต้น ที่เป็นแบบแผนสากลยังไม่สามารถถูกนํามาใช้กับท่ารําไทยอย่างแพร่หลายในประเทศไทย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แบบฝังลึกจากผู้เชี่ยวชาญไปยังรูปแบบ องค์ความรู้แบบชัดแจ้ง จากการออกแบบข้อมูลที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ไปยังข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้ เพื่อพัฒนาข้อมูลที่สามารถเข้าใจได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์สําหรับระบบการจด บันทึกการเต้นที่สามารถแสดงผลท่ารําไทยในรูปแบบ 3 มิติ เพื่อประเมินโปรแกรมที่สามารถเข้าใจ ได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์และสามารถรองรับระบบการฝึกอบรมท่ารําไทย ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ระดับบริบท บริบทระดับแรก คือการมุ่งเน้นการตรวจสอบความรู้ที่มีความ เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ด้านรําไทยจากครูผู้เชี่ยวชาญให้เข้าใจกระบวนการเรียนการสอนรําไทยและเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนในการเรียนรําไทยเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แบบฝังลึกให้ เป็นไปในรูปแบบองค์ความรู้แบบชัดแจ้ง ระดับที่สอง คือ การเก็บองค์ความรู้ เพื่อบันทึกองค์ความรู้ แบบฝังลึกถ่ายทอดไปยังรูปแบบองค์ความรู้แบบชัดแจ้ง โดยมี 2 กระบวนการดังต่อไปนี้ กระบวนการแรก คือ ระบบการจดโน้ตนาฏศิลป์แบบลาบาน โดยมีการบันทึกท่าการเคลื่อนไหวของ รําไทยในรูปแบบการถ่ายวีดีโอและการจดบันทึกโน้ตนาฏศิลป์แบบลาบาน กระบวนการที่สองคือ การจับการเคลื่อนไหวแบบ 3 มิติ ระดับที่สาม คือ การแสดงความรู้เพื่อแสดงภาพองค์ความรู้แบบชัด แจ้ง โดยใช้กระบวนการแยกเป็นสองกระบวนการดังนี้ กระบวนการแรก คือ มาตรฐานการจดบันทึก โน้ตนาฏศิลป์แบบลาบานในรูปแบบภาษาคอมพิวเตอร์เอ็กซ์เอ็มแอลเพื่อพัฒนาโปรแกรมที่เรียกว่า "ลากและวางการจดโน้ตนาฏศิลป์ไทยแบบลาบาน" ที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้งานจัดเก็บท่ารําไทยและ สามารถแสดงการเคลื่อนไหวท่ารําแบบ 3 มิติ กระบวนการที่สอง การฝึกท่ารําไทย โดยใช้เกมอาร์เคด ที่เรียกว่า “เครื่องฝึกอบรมท่ารําไทย” ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนนาฏศิลป์ไทยได้เรียนรู้และฝึกฝนท่ารํา ไทยด้วย โดยเกมจะแสดงผลลัพธ์จากคะแนนในแต่ละส่วนของร่างกาย, คะแนนรวม และกระดาน ผู้นําระดับที่สี่ คือ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อประเมินความรู้ของผู้ใช้งานโดยใช้กระบวนการแยก สองกระบวนการ กระบวนการแรก ประเมินผลองค์ความรู้ของผู้ใช้งานจาก ระบบลากและวางการจด โน้ตนาฏศิลป์ไทยแบบลาบาน และกระบวนการที่สอง ประเมินผลองค์ความรู้ของผู้ใช้งานจากระบบ เครื่องฝึกอบรมท่ารําไทยระบบลากและวางการจดโน้ตนาฏศิลป์ไทยแบบลาบาน และ ระบบเครื่องฝึกอบรมท่ารําไทย เป็น ผลงานของการวิจัยที่ร่วมมือกับสถาบันรําไทยในกรณีศึกษาของเรา ระบบลากและวางการจดโน้ต นาฏศิลป์ไทยแบบลาบานช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเก็บบันทึกการเคลื่อนไหวท่ารําไทยและยังสามารถ แสดงผลในรูปแบบ 3 มิติ อีกทั้งระบบเครื่องฝึกอบรมท่ารําไทยช่วยให้นักเรียนไทยสามารถ ฝึกซ้อมการเคลื่อนไหวท่ารําไทยได้ตามรายวิชาจากหลักสูตรอีกด้วย นอกจากนี้ผลงานวิจัยที่ พัฒนาขึ้นมายังสามารถนําเสนอและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนรําไทยไปสู่นักเรียนรำไทย และสามารถเก็บข้อเสนอและกลับมาพัฒนาระบบอีกด้วยen_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
572151002 ยุทธพงษ์ ทองแพง.pdf24.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.