Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Suwicha Wannawichian-
dc.contributor.advisorDr. Utane Sawangwit-
dc.contributor.authorMr. Manus Boonmalaien_US
dc.date.accessioned2020-08-20T01:03:27Z-
dc.date.available2020-08-20T01:03:27Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69673-
dc.description.abstractThis research aims to study the gas feedback, which can be observed the ionized gas flows out more than 10 kpc from the nucleus of Active Galactic Nuclei in NGC 5252 by use GADGET-2 program. The simulation contains gaseous disk, dark matter halo, stellar disk, and stellar bulge particles. The one of bulge particle mass is set up as the black hole mass. The simulation is used Smoothed Particle Hydrodynamics method to calculate the evolution of gaseous particles. Our simulations use only the gravitational effect from the central black hole and gas interactions to trigger the system. They do not contain factors such as the merging of the galaxy or tidal disruption. We analyze and track the distributions, internal energy, and dynamical evolutions of the gaseous disk, dark matter halo, stellar disk, and stellar bulge particles, especially its indication of the outflow and feedback process. At the beginning of the simulation, the density of each particle type undergoes the expected gravitational collapse at a small distance from the galactic center and gradually reaches its equilibrium state at around 0.6 Gyr. Our results suggest a clear indication of gas outflow in the direction perpendicular to the galactic plane. The gas can travel out more than 10 kpc in the direction perpendicular to the galactic disk after 1.6 Gyr and can travel out to 20 kpc after 3.0 Gyr. At the end of the simulations, the density of gaseous disk in the direction perpendicular to the galactic disk has increased by approximately 119 M⊙/kpc3 at distance more than 10 kpc from t = 0 to 7.0 Gyr. We see evidence in velocity in the perpendicular to disk plane direction to relate with the outflow gas of the system. The velocity of gaseous disk velocity shows a significant change from collapse at 0.01 Gyr to outflow at 0.03 Gyr. It represents the typical duty cycle of AGN. We see the feedback from the gaseous particle is more than the stellar particle. The frequency of interaction in gaseous particles is more than the stellar particles. The collision between gaseous particles leads to energy and momentum transfer. The energy of the gaseous is heated up from the interaction and kicked off from the system in the form of the outflow gas. We can see the gas feedback clearly in the perpendicular to the disk plane direction more than the disk plane direction.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleNumerical Simulation of Active Galactic Nuclei Feedback in Galaxy NGC 5252en_US
dc.title.alternativeการจำลองเชิงตัวเลขของผลป้อนกลับนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ในดาราจักร NGC 5252en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลป้อนกลับของนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ที่ออกมาในรูปแบบของก๊าซที่ จากดาราจักร NGC 5252 ที่มากกว่า 10 กิโลพาร์เซก โดยใช้แบบจําลองเชิงตัวเลขจากโปรแกรม GADGET-2 แบบจําลองประกอบด้วยก๊าซที่เป็นแผ่นจาน อนุภาคสสารมืด ดาวดาวบนแผ่นจาน และ คาวดาวบนส่วนโป่งของดาราจักร โดยตั้งค่าให้ดวงดาวหนึ่งดวง ณ ใจกลางที่ส่วนโป่งมีมวลเท่ากับ หลุมดําเพื่อเป็นตัวแทนของหลุมดํา แบบจําลองนี้ใช้ระเบียบวิธีอุณหพลศาสตร์ของอนุภาคแบบเรียบ เพื่อคํานวณการวิวัฒนาการของก๊าซแบบจําลองนี้ใช้ผลของความโน้มถ่วงจากหลุมดํา และอันตรกิริยา จากก๊าซเพื่อกระตุ้นระบบ โดยไม่มีปัจจัยภายนอกอื่น ๆ เช่นการถูกรบกวนจากการรวมตัวกันของ คาราจักร หรือการรบกวนแบบไทดล เราได้วิเคราะห์และติดตามการกระจายตัวของพลังงานภายใน และวิวัฒนาการทางพลวัตของแผ่นก๊าซ สสารมืด ดาวดาวบนแผ่นจาน และดาวดาวบนส่วนโป่งของ ดาราจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบ่งชี้ถึงการไหลออกและกระบวนการป้อนกลับ ในช่วงเริ่มต้นของ แบบจําลอง ความหนาแน่นของอนุภาคแต่ละชนิดในรัศมีเล็ก ๆ ห่างจากจุดศูนย์กลางดาราจักรเกิดการ ยุบตัวจากผลของแรงโน้มถ่วง และค่อย ๆ ไปถึงสถานะสมดุลที่ประมาณเวลา 0.6 พันล้านปี ผลการวิจัยของเราชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนถึงการไหลของก๊าซในทิศทางตั้งฉากกับระนาบดาราจักร ก๊าซ สามารถเดินทางออกไปได้มากกว่า 10 กิโลพาร์เซกในทิศทางตั้งฉากกับแผ่นจานเมื่อเวลา 1.6 พันล้าน ปี และสามารถเดินทางไปถึง 20 กิโลพาร์เซก หลังจากเวลาผ่านไป 3.0 พันล้านปี ในตอนท้ายของ แบบจําลองความหนาแน่นของก๊าซที่เป็นแผ่นจานในทิศทางตั้งฉากกับระนาบดาราจักรเพิ่มขึ้น ประมาณ 119 Mo/kpc ณ ที่ระยะทางที่มากกว่า 10 กิโลพาร์เซก จากช่วงเวลา 0 ถึง 7.0 พันล้านปี เรา เห็นหลักฐานในความเร็วในแนวตั้งฉากกับทิศทางระนาบดาราจักรเพื่อที่สัมพันธ์กับแก๊สที่ไหลออกของระบบ ความเร็วของก๊าซในทิศทางตั้งฉากกับระนาบดาราจักรแสดงการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญจาก การยุบตัวที่ 0.01 พันล้านปี มาเป็นการไหลออกที่ 0.03 พันล้านปี ซึ่งมันแสดงถึงวัฏจักรของนิวเคลียส ดาราจักรกัมมันต์ งานวิจัยนี้พบผลป้อนกลับจากก๊าซมากกว่าจากควงดาว เนื่องมาจากอันตรกิริยา ระหว่างกันของอนุภาคในก๊าซจะเกิดการชนกันมากกว่าในดวงดาวจึงส่งผลให้ส่วนของก๊าซเกิดการ เปลี่ยนแปลงในการส่งผ่านพลังงานและโมเมนตัม พลังงานของก๊าซเพิ่มขึ้นจากอันตรกิริยานั้นและถูก ปลดปล่อยออกมาในรูปแบบการไหลออกของก๊าซในที่สุด โดยเราสามารถเห็นผลป้อนกลับของก๊าซ อย่างชัดเจนในแนวตั้งฉากกับทิศทางระนาบของแผ่นจานมากกว่าทิศทางระนาบของแผ่นจานen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590531061 มนัส บุญมาลัย.pdf12.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.