Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69663
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.สพ.ญ.ดร. วรางคณา ไชยซาววงษ ์-
dc.contributor.advisorผศ.สพ.ญ.ดร. กรรณิการ์ ณ ลำปาง-
dc.contributor.authorชลธิชา เจียรเจริญen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:48:57Z-
dc.date.available2020-08-19T08:48:57Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69663-
dc.description.abstractPODD surveillance system is a community-based disease surveillance tool including PODD application and data dashboard. The system operation is driven by volunteers who use the application to report usual events sent to responsible sectors, and by local administrative organizations (LAOs) that act as the system administrator and response unit collaborating with other support sectors. The aim of this study was to evaluate the efficiency of PODD surveillance system both in quantitative and qualitative aspects. 366 users of 30 LAOs that used PODD surveillance system in Chiang Mai province were asked using structure interview and 120 participants of these were randomly selected for in-depth interview. The collected data were analyzed by descriptive statistics and qualitative analysis for quantitative and qualitative data respectively. Eighty percent of chief executives and volunteers gave precedence to and were interested in PODD system since the obtained community benefits and good representativeness of animal disease outbreak surveillance, for instance. The PODD system was accepted to be a useful tool applied in community by interviewed volunteers, and obviously useful system as a new innovation by administrative users. The flexibility and stability of PODD surveillance in community were depended on chief executive attention, however the volunteers still use the application continually. From the findings, limitations of this system can be inferred that PODD surveillance system have to develop and improve for better efficiency affecting to community benefit and used as the model for other areas in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินระบบการเฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ที่มีการใช ้ แอปพลิเคชันพีโอดีดีเป็นเครื่องมือen_US
dc.title.alternativeEvaluating of Animal Epidemic Disease Surveillance System by Using PODD Application as a Toolen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractระบบเฝ้าระวังพีโอที่ดีเป็นเครื่องมือในการเฝ้าระวังโรคภายในชุมชนซึ่งประกอบด้วยแอปพลิเคชัน พีโอดีดีและแผงควบคุมข้อมูล การทํางานของระบบถูกขับเคลื่อนโดยอาสาสมัครซึ่งเป็นผู้ใช้งาน แอปพลิเคชั่นในการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติไปยังส่วนที่มีหน้าที่รับผิดชอบและถูกขับเคลื่อนโดย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งทําหน้าที่เป็นผู้ดูแลระบบและหน่วยงานตอบสนองที่ทํางาน ร่วมกับหน่วยสนับสนุนอื่นๆ จุดประสงค์ของการศึกษา คือ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบเฝ้า ระวังพีโอที่ดีทั้งในแง่มุมเชิงปริมาณและคุณภาพ ผู้ใช้งานจํานวน 366 คนจาก 30 อปท. ที่ใช้งานระบบ เฝ้าระวังพีโอดีดีในจังหวัดเชียงใหม่ถูกสอบถามด้วยแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและการสัมภาษณ์ เชิงลึก ข้อมูลที่เก็บถูกวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณาและการวิเคราะห์เชิงคุณภาพสําหรับข้อมูลเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพตามลําดับ ร้อยละ 80 ของผู้บริหารและอาสาสมัครเห็นความสําคัญและสนใจ ในระบบพีโอดีดีเพราะประโยชน์ของชุมชนที่ได้รับและมีความเป็นตัวแทนของระบบเฝ้าระวังโรค ระบาดสัตว์ที่ดี ระบบพีโอดีที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในชุมชนโดยอาสาสมัคร และเป็นระบบที่ประจักษ์ว่าเป็นนวัตกรรมใหม่โดยผู้ใช้งานระดับบริหาร ความยืดหยุ่นและความ มั่นคงของระบบเฝ้าระวังพีโอดีดีในชุมชนขึ้นกับการให้ความสนใจของผู้บริหาร แต่อย่างไรก็ตาม อาสาสมัครจะยังคงใช้แอปพลิเคชันต่อไป จากการศึกษาพบว่าข้อจํากัดของระบบดังกล่าวยังต้องทํา การพัฒนาและแก้ไขให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นซึ่งจะส่งผลต่อประโยชน์ของชุมชนและสามารถถูก ใช้เป็นต้นแบบสําหรับพื้นที่อื่นๆ ได้ในอนาคตen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58143100 ชลธิชา เจียรเจริญ.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.