Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.authorโอบอ้อม ตัวละมูลen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:47:42Z-
dc.date.available2020-08-19T08:47:42Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69648-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) create and determine the quality of lesson plans for improving critical reading abilities in studying Thai subject by using REAP strategies among grade 2 students, 2) compare critical reading abilities in studying Thai subject using REAP strategies among grade 2 students prior to and after learning, and 3) study happiness in learning Thai subject by using REAP strategies among grade 2 students during and after learning. The research sample was 27 students of grade 2/2 of 2nd semester in academic year 2019 of Anubanchaehom School which was chosen by cluster random sampling. The research instruments were lesson plan evaluation form, critical reading test, happiness behavior observation form, and happiness scale. Quantitative data were analyzed by means, standard deviation, and t-test. Qualitative data were analyzed by content analysis and descriptive explanation. The results of this research were as follow: 1. Lesson plans for improving critical reading abilities in Thai subject by using REAP strategies among grade 2 students had 25 plans in total 25 hours. This lesson plans had quality at a very good level. 2. The students’ critical reading abilities in Thai subject after using REAP strategies were higher than prior to learning at the .01 level of significance. 3. The students’ happiness in learning Thai subject during learning reflected in 6 components and after using REAP strategies was at a high level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พีที่มีต่อความสามารถในการอ่านอย่างมี วิจารณญาณและความสุขในการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeEffects of Using the REAP Strategy on the Critical Reading Ability and Happiness in Studying Thai Among Grade 2 Studentsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณตามกลวิธีอาร์ อี เอ พี ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี และ 3) เพื่อศึกษาความสุขในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างเรียนและหลังเรียน โดยใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จำนวน 27 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤติกรรมความสุขในการเรียนวิชาภาษาไทย และแบบวัดความสุขในการเรียนวิชาภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบที และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและบรรยายพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1. แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี มีทั้งหมด 25 แผน รวม 25 ชั่วโมง และมีคุณภาพโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก 2. ความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณวิชาภาษาไทยของนักเรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ความสุขในการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนที่เรียนโดยใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ระหว่างเรียนสะท้อนผ่านพฤติกรรมทั้ง 6 องค์ประกอบ และหลังเรียนอยู่ในระดับมากen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232032 โอบอ้อม ตัวละมูล.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.