Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.กรุณา รักษวิณ-
dc.contributor.authorพัชลลิตษร แก้วปีลาen_US
dc.date.accessioned2020-08-18T02:44:55Z-
dc.date.available2020-08-18T02:44:55Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69638-
dc.description.abstractThis research is the experimental design of planning and façade to represent the local identities of Roi Et’s city hall, which has renovated into Chaturamuk building. The research objective is to design the appropriate planning to respond to the usages with local identity. The first part of the research proposed the methodology to arrange the areas that fit the building structure. From the analysis of the interviews, the questionnaire and the conceptual design became the area arrangement in the Modular system. The other part is to propose the façade design guidelines to represent the local identity. From the basic concepts of the human perception with the study of the history of the local area and the methods of transfer cultural content to architecture, leading to a three-dimensional model of the façade of Roi Et city hall, and test the recognition identity with samples of the Northern Council of Architects members and comment on the suitability of the model. The result of the area arrangement in the Modular system shows that it responds to government buildings management. Furthermore, the results of the identity recognition found the perception of the northeastern region. In terms of key messages from the sample group’s explanation, it was found that there are contents that support the suitability of the model, and there are different contents that must be considered in the next design.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการทดลองการออกแบบผังพื้นและรูปด้านหน้าอาคาร ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ดen_US
dc.title.alternativeThe Experimental Design of Planning and Façade of Roi Et’s City Hallen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาการออกแบบศาลากลางโดยการวางผังพื้นและออกแบบรูปแบบ สถาปัตยกรรมให้มีการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่นร้อยเอ็ด ซึ่งมีการปรับปรุงศาลากลางหลังเก่า เป็นอาคารจตุรมุข วัตถุประสงค์การออกแบบของงานวิจัย ประกอบด้วยการออกแบบที่ตอบสนองต่อ การใช้พื้นที่ในปัจจุบัน และการออกแบบสถาปัตยกรรมให้แสดงออกถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่น การออกแบบส่วนแรกได้เสนอวิธีคิดการหาพื้นที่ตามโครงสร้างอาคาร จากการวิเคราะห์ ประเด็นของการสัมภาษณ์ ข้อมูลแบบสอบถาม และแนวคิดการออกแบบผังพื้น เกิดเป็นรูปแบบการ จัดการพื้นที่ในระบบ Modular อีกส่วนหนึ่งเป็นการเสนอแนวทางการออกแบบรูปด้านหน้า ศาลากลาง ให้แสดงออกถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่น จากแนวคิดพื้นฐานของกระบวนการรับรู้ของมนุษย์ ร่วมกับการศึกษาประวัติศาสตร์พื้นที่ และวิธีการในการเชื่อมโยงเนื้อหาทางวัฒนธรรมสู่งาน สถาปัตยกรรม นาไปสู่การสร้างแบบจาลองภาพสามมิติของรูปด้านหน้าศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด และทดสอบอัตลักษณ์ด้วยวิธีการทดสอบการรับรู้ โดยให้กลุ่มตัวอย่างสมาชิกสภาสถาปนิกเลือก ภูมิภาคที่ตั้งของแบบจา ลอง และให้อธิบายแสดงความคิดเห็นถึงความเหมาะสมของแบบจา ลอง ผลการศึกษาการจัดการพื้นที่ในระบบ Modular พบว่า ตอบสนองต่อการจัดการการใช้พื้นที่ ของอาคารราชการ และผลการทดสอบการรับรู้อัตลักษณ์พบว่า แบบจาลองสามารถรับรู้ถึงภูมิภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อพิจารณาประเด็นจากการอธิบายพบว่ามีเนื้อหาสนับสนุนความเหมาะสม ของแบบจา ลอง และเนื้อหาที่เห็นต่างเป็นประเด็นที่ต้องคา นึงถึงการออกแบบต่อไปen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601731005 พัชลลิตษร แก้วปีลา.pdf8.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.