Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69631
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.ธีรวรรณ ธีระพงษ์ | - |
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.เพื่อนใจ รัตตากร | - |
dc.contributor.author | กิตติพงษ์ รักไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-18T02:44:22Z | - |
dc.date.available | 2020-08-18T02:44:22Z | - |
dc.date.issued | 2020-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69631 | - |
dc.description.abstract | This research, with the case study method, is aimed at scrutinizing the process of active ageing development of elderly people attending the aquatic exercise. Gathering data by employing in-depth interviews with four elderly people frequently participating in an aquatic exercise, the researcher found many findings. The first and the second informants, a spouse, expressed that their affection and deep bond between each other made their caretaking for each other meaningful and that such affection and deep bond gave them the power to live. They attended the aquatic exercises regularly and focused on taking care of each other’s many facets of health. Moreover, both of them placed importance on the knowledge sharing society in places for exercise. The third informant, an elderly daughter taking care of her more elderly mother, expressed the fact that her mother still lived under the same roof as hers made her life meaningful and gave her the power to take care of her own health. In addition, her liveliness created more meaningfulness to the aquatic exercise society. The fourth informant went through a health crisis and realized that to always keep her own health fit was the most important thing so that she could remain fully self-dependent. As she was the reliable leader of the aquatic exercise community, her exercise participation did not only simply mean a personal matter, but also valuable mean of relationship. Besides, the four informants had their own economic stability supporting their health caretaking. All of these informants’ attributes are consistent with the active ageing framework as follows: (1) keeping the health fit by exercisingregularly, (2) having economic stability which supports physical activity participation and (3) taking part in exercise community with other elderly people. Thus, the processes leading to the active ageing are the theories of the meaning of life, Erikson's theory of psychosocial development and the activity theory. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | พฤฒพลัง: กรณีศึกษาผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายในน้ำ | en_US |
dc.title.alternative | Active Ageing: A Case Study of Old People Attending Aquatic Exercises | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาพฤฒพลังของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายในน้ำ เป็นการวิจัยตามแนวคิดการศึกษาแบบกรณีศึกษา ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลคือผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายออกกำลังกายในน้ำอย่างสม่ำเสมอ จำนวน 4 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 1 และ 2 เป็นคู่ชีวิตที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรักความผูกพันทำให้การดูแลสุขภาพกันและกันมีความหมายและให้พลังแก่ชีวิต โดยทั้งคู่ออกกำลังกายในน้ำอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพด้านอื่นๆ ให้แก่กันและกัน นอกจากนี้ทั้งคู่ยังเป็นผู้ที่ให้ความสำคัญกับสังคมแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสถานที่ออกกำลังกายอีกด้วย สำหรับผู้ให้ข้อมูลคนที่ 3 เป็นลูกสาวสูงวัยที่ดูแลแม่ที่สูงวัยกว่า การที่คุณแม่ยังอยู่ร่วมบ้านกับเธอทำให้การดำรงชีวิตของเธอมีความหมายและมีพลังในการดูแลสุขภาพตนเอง อีกทั้งการเป็นคนร่าเริงสนุกสนานนั้นได้สร้างสังคมของการออกกำลังกายในน้ำให้มีความหมายมากขึ้น ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 4 เคยประสบกับวิกฤตสุขภาพจนตระหนักได้ว่าไม่มีสิ่งใดมีค่าไปกว่าการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ รวมไปถึงการพึ่งพาตนเองอย่างเต็มความสามารถ ประกอบกับการเป็นผู้นำอันเป็นที่พึ่งพิงให้กับกลุ่มผู้ออกกำลังกายในน้ำ ทำให้การมาออกกำลังกายไม่ได้มีความหมายเพียงเรื่องส่วนตัว นอกจากนี้ผู้ให้ข้อมูลทั้ง 4 ท่านยังเป็นผู้ที่สามารถพึ่งพาคนเองและมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจซึ่งไม่เป็นอุปสรรคต่อการดูแลสุขภาพตนเอง คุณลักษณะดังกล่าวทั้งหมดของผู้ให้ข้อมูลนั้นจึงสอดคล้องกับวิถีแห่งพฤตพลังอันได้แก่ 1. การมีสุขภาพที่ดีจากการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 2. ความมั่นคงจากการที่มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่เอื้อต่อการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายภาพ 3. การมีส่วนร่วมกับผู้สูงอายุรายอื่น ๆ ในชุมชนการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถอธิบายกระบวนการที่นำไปสู่พฤตพลังได้ด้วยแนวคิดความหมายในชีวิต (meaning of life) ทฤษฏีพัฒนาการทางสังคม และทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory) | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610635904 มนสิช สันสันธิเทศ.pdf | 8.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.