Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Isaraporn Pissa-ard-
dc.contributor.authorIntharasuwan Punjanakkakornen_US
dc.date.accessioned2020-08-15T03:04:33Z-
dc.date.available2020-08-15T03:04:33Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69589-
dc.description.abstractDrawing on Antonio Gramsci’s theory of hegemony and his conceptualizations of ‘common sense’, ‘good sense’ and ‘organic intellectual’, this thesis offers a Gramscian reading of the The Glass Palace by Amitav Gosh, a prominent Indian author. Central to the exploration of the thesis is the novel’s depiction of the impacts of British colonization in India and Burma as well as the plight of the Indian and the Burmese in the diasporas. The investigation is set around outstanding characters whose lives are profoundly affected by colonization and its legacies. Some of these characters experience permanent displacement and are trapped in a state of forced exile, alienation, and humiliation. There are, however, characters who are able to reconstruct their identities through their diasporic experiences and successfully climb the social and economic ladder. This thesis also examines how a traditional form of hegemony can be undermined or destroyed by a more powerful hegemony established by British colonizers, and how dominant hegemonies exert their control over the consciousness, worldviews, and behaviors of the colonized. Furthermore, the thesis draws attention to the fact that dominant hegemonies can be undermined and challenged, and to the vital role of ‘organic intellectuals' in initiating and organizing a counter-hegemonic force.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleHegemony and Its Impacts on Identities and Diasporic Experiences in Amitav Ghosh’s The Glass Palaceen_US
dc.title.alternativeอำนาจนำและผลกระทบต่ออัตลักษณ์และประสบการณ์ของคนผลัดถิ่น ในนวนิยายเรื่อง ร้าวรานในวารวัน ของอมิตาภ โฆษen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้นําเสนอการตีความนวนิยายเรื่องร้าวรานในวารวัน ซึ่งแต่งโดยอมิตาภ โฆษ นักเขียนชาวอินเดียผู้มีชื่อเสียง การตีความและวิเคราะห์อาศัยกรอบแนวคิดของอันโตนิโอ กรัม ที่ เกี่ยวข้องกับการครองอํานาจนํา” (hegemony) สามัญสํานึก” (common sense) “จิตสํานึก” (good sense) และ “ปัญญาชนแบบจัดตั้ง (organic intellectual) นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ยังนําเสนอการวิเคราะห์ ผลกระทบของการล่าอาณานิคมในอินเดียและพม่า รวมถึงความยากลําบากของคนผลัดถิ่นชาวอินเดีย และพม่าที่นวนิยายนําเสนอ การวิเคราะห์มุ่งเน้นไปที่ตัวละครเด่นที่ชีวิตของพวกเขาได้รับผลกระทบจาก การล่าอาณานิคมและผลพวงของการล่าอาณานิคม ตัวละครบางตัวได้ประสบกับการผลัดถิ่นและอยู่ ภายใต้สภาวะของการเป็นคนที่ถูกเนรเทศ คนต่างถิ่น และการดูถูกเหยียดหยาม แต่ถึงกระนั้นตัวละคร บางตัวก็แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการกอบกู้อัตลักษณ์ของตนผ่านประสบการณ์ของการเป็นคน ผลัดถิ่นและสามารถ ไต่ระดับทางสังคมและเศรษฐกิจได้ในภายหลัง วิทยานิพนธ์เล่มนี้ยังนําเสนอการ วิเคราะห์ที่แสดงให้เห็นด้วยว่าการครองอํานาจนําดั้งเดิม (traditional hegemony) ของชาวท้องถิ่นอาจ ถูกบั่นทอนทําลายโดยการครองอํานาจนําที่ทรงพลังกว่าที่ถูกสร้างขึ้นโดยนักล่าอาณานิคมชาวอังกฤษ และการครองอํานาจนํารูปในแบบต่างๆมีอิทธิพลต่อ จิตสํานึก โลกทัศน์และความประพฤติของผู้ที่อยู่ ภายใต้อํานาจนําเหล่านั้นอย่างไร นอกเหนือจากนี้วิทยานิพนธ์นี้ยังเน้นข้อเท็จจริงที่ว่าการครองอํานาจ นําสามารถูกบั่นทอนและต่อต้านได้ อีกทั้งมีการเน้นให้เห็นถึงบทบาทที่สําคัญของปัญญาชนแบบจัดตั้ง ในการริเริ่มจัดตั้ง “พลังที่สามารถ ตอบโต้ต่อการครองอํานาจนํา” (counter-hegemonic force)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.