Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69569
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Chetthapoom Wannapaisan | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Thaneeya Chetiyanukornkun | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Chukiat Chaiboonsri | - |
dc.contributor.author | Srisakun Chaiwiang | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-15T03:02:31Z | - |
dc.date.available | 2020-08-15T03:02:31Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69569 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study is to study the current conditions and problems in the civil productivity dimensions of both Thailand and foreign countries and develop into a workshop model for civil productivity enhancement based on the King's philosophy. The target groups are educational supervisors and social studies teachers of high schools in the upper northern region. The research tools are document analysis form, survey of the learning process based on concept of civil productivity, questionnaire before workshop for civil productivity enhancement based on the King’s philosophy, and the evaluation form for civil productivity. Statistical analysis data is used to find the frequency and percentage together with the analysis of related researches on the productivity concepts of the processes of Zhao and Paitoon Sinlarat, the King's philosophy concept, the Thailand 4.0 education policy concept including evaluation and advice from related experts in education and personnel working related to King’s philosophy. The results of the study demonstrate that the productivity concepts are consistent with the concepts of the King's philosophy in terms of enhancing the learners to create analytical thinking process in a creative way, applying the original body of knowledge to the new body of knowledge for creating concrete works responding to society based on responsibility foundation towards oneself and society with morality and ethics. In addition, teachers and educational supervisors have consistent opinions about the importance of ethics and morals that should be more instilled in creating citizens through the education system. However, the main obstacle from the workload apart from teaching work makes the teaching process based on productivity concepts quite difficult. If the productivity concepts are applied to teach in social studies as well as integrating with King’s philosophy from government policies, it would make Thai society develop more sustainable citizenship through education. At the same time, educational supervisors have the opinion that the large workload of social studies teachers would be an obstacle to misunderstandings or not fully understood in the process of productivity concepts. Hence, the curriculum in teaching teachers should be properly organized and considered to be suitable for the context of Thai society. I, as the investigator therefore created a workshop for civil productivity enhancement based on the King's philosophy under the name ' We Love King Module' in order to create an understanding of civil productivity enhancement' based on the King's philosophy of His Majesty King Maha Bhumibol Adulyadej the Great (Rama IX), and can be adapted for teaching and learning management, educational evaluation for educational supervisors and social studies teachers in further development of teaching and learning. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | The Development of Workshop Model for Enhance Civil Productivity Based on the King's Philosophy | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนารูปแบบเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างผลิตภาพพลเมือง ตามศาสตร์พระราชา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในมิติผลิตภาพพลเมือง ทั้งของไทยและต่างประเทศ และพัฒนาเป็นรูปแบบเชิงปฏิบัติการเพื่อผลิตภาพพลเมืองตามศาสตร์พระราชา ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายคือ ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอนรายวิชาสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนในเขตภาคเหนือตอนบน โดยใช้เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินของกลุ่มเป้าหมายก่อนและหลังที่ได้รับการฝึกอบรม ชุดฝึกอบรมของกลุ่มเป้าหมาย และแบบประเมินรูปแบบเชิงปฏิบัติการเพื่อผลิตภาพพลเมือง ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าความถี่และร้อยละ ร่วมกับการวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดผลิตภาพแบบ POL (Product-oriented Learning) ของ Zhao และแนวคิดผลิตภาพ (Productivity – Based Instructional Model) ของไพฑูรย์ สินลารัตน์ เพื่อสร้างพลเมืองผ่านระบบการศึกษาไทยในรายวิชาสังคมศึกษา ร่วมกับการวิเคราะห์แนวคิดศาสตร์พระราชา และนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ด้านการศึกษา ผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า แนวคิดผลิตภาพทั้งสองแนวคิดมุ่งสร้างให้ครูถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับนักเรียนแล้วต้องมีการคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ เป็นการเอาองค์ความรู้เดิมประยุกต์กับองค์ความรู้ใหม่จนผลิตชิ้นงานที่สะท้อนองค์ความรู้ที่ได้เพื่อตอบสนองสังคมบนพื้นฐานความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีคุณธรรมจริยธรรม สำหรับความต่างแบบ POL(Product-oriented Learning) ของ Zhao เน้นครูกำหนดกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดนักเรียนผลิตภาพ แต่แบบ Productivity – Based Instructional Model ของไพฑูรย์ สินลารัตน์ เน้นผู้เรียนเกิดคิดวิเคราะห์ Critical Mind) คิดสร้างสรรค์ (Creative Mind) การมีผลผลิต (Productive Mind) และมีความรับผิดชอบ (Responsible Mind) ที่เรียกว่า คุณลักษณะ CCPR สำหรับการสำรวจสัมภาณ์ความคิดเห็นของครูสังคมศึกษาเห็นว่า แนวคิดผลิตภาพในการสร้างพลเมืองผ่านระบบการศึกษาของไทยเกิดขึ้นในระดับปานกลาง ทั้งนี้ครู และศึกษานิเทศก์มีความคิดเห็นสอดคล้องกันถึงให้ความสำคัญเกี่ยวกับหลักจริยธรรม คุณธรรม ที่ควรปลูกฝังในระบบการสร้างพลเมืองให้มากขึ้น แต่ด้วยปัญหาอุปสรรคจากภาระงานที่เป็นงานสอนแล้ว ส่งผลให้กระบวนสอนตามแนวคิดผลิตภาพเกิดขึ้นได้ค่อนข้างยาก ทั้งนี้หากนำแนวคิดผลิตภาพมาประยุกต์ในการสอนจะทำให้สังคมไทยพัฒนาการสร้างพลเมืองผ่านระบบการศึกษาได้อย่างยั่งยืนกว่านี้ ในขณะเดียวกันศึกษานิเทศน์มีความเห็นว่า ด้วยภาระงานที่มีมากของครูสังคมศึกษานั้นเป็นอุปสรรคที่ทำให้เกิดความเข้าใจกระบวนการคลาดเคลื่อนหรือไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้ ดังนั้นจึงควรมีการจัดหลักสูตรในการสอนครูอย่างถูกต้องและพิจารณาให้เหมาะสมกับอัตลักษณ์บริบทของสังคมไทยเป็นหลัก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580251011 ศรีสุกล ชัยเวียง.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.