Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.พิมลพรรณ ไชยนันท์-
dc.contributor.authorจันทรวรรณ ตระกุลผิวen_US
dc.date.accessioned2020-08-15T03:01:53Z-
dc.date.available2020-08-15T03:01:53Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69564-
dc.description.abstractThis quantitative research Parody of Political Satire on Facebook Page is to study how politics is represented in different satirical ways, based on the contents of political Facebook pages by gathering data posted on the Cat Egg X page that contains various satirical contents of political news. This page is divided into two main areas of analysis depending on certain contents that reflect particular political situations, and tactics or different degrees of parody. The duration of the study was 6 months from January 1st, 2019 – June 30th, 2019, a total of 166 posts. The results are analyzed using interpretive and comparative methods on each present content in order to understand the context of society along with the meaning of symbols, posted and used to describe related events. Accordingly, the first part of the analysis, which is a reflection of political events finds that there are 7 types of common content which are the behavior of politicians, people who are related to politics, political parties, elections, government policies, important current events and institutions which are related to politics. Another part is the strategy of parody and satire. It finds that there are 4 different types of parody which are trivialization (joke modification), comparison and exaggeration, and inversion (role switches). All content reflects distrust toward the government in the public view. This is because the period of the official election was held after the coup in 2014, and the nation has been ruled by the National Council for Peace and Order, known as the military junta for 5 years. The election demands the qualifications of candidates. Political activists and people who criticize their views holding on the principles of democracy on social media, which is considered a public sphere to freely express their opinions based on freedom and independence. Instead, these people are controlled and arrested by invisible power or laws resulting in changing the expressions of political opinions to avoid conflict by using “Political Caricatures” which are adapted each content to be jokes, and by changing the content to be easily accessible in order to reduce tension in content without annotations. This allows readers to imagine and perceive in their own ways which is the beginning step of fighting through diverse thoughts in a political way by the use of advanced technological innovation as an incentive in the long run.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการล้อเลียนในเพจเฟซบุ๊กประเภทเสียดสีการเมืองen_US
dc.title.alternativeParody of Political Satire on Facebook Pagesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานค้นคว้าอิสระเรื่อง การล้อเลียนในเพจเฟซบุ๊กประเภทเสียดสีการเมืองเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาที่ถูกนําเสนอในเพจเฟซบุ๊กประเภทเสียดสีการเมือง และเพื่อศึกษากลวิธี การล้อเลียนที่ใช้ในการนําเสนอเนื้อหาของโพสต์ในเพจเฟซบุ๊กประเภทเสียดสีการเมือง โดยใช้วิธี การศึกษาจากการเก็บข้อมูลโพสต์ในเพจไข่แมวx ที่มีเนื้อหาล้อเลียนและเสียดสีข่าวการเมือง โดยแบ่ง การวิเคราะห์เป็น 2 ส่วนคือประเภทของเนื้อหาที่ถูกนําเสนอซึ่งสะท้อนเหตุการณ์ทางการเมืองและกลวิธี หรือระดับการล้อเลียนที่นําเสนอในโพสต์ ระยะเวลาในการศึกษา 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562 - 30 มิถุนายน 2562 จํานวนทั้งหมด 166 โพสต์ จากนั้นนําผลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาที่ปรากฏในขณะนั้น โดยศึกษาจากบริบททางสังคมร่วมกับสัญญะที่ปรากฏในโพสต์เพื่อศึกษาความหมายเนื้อหาของเหตุการณ์ จากการวิเคราะห์เนื้อหาในส่วนแรก ซึ่งเป็นส่วนที่สะท้อนเหตุการณ์ทางการเมืองพบว่า เนื้อหา ที่ถูกนําเสนอมี 7 ประเภทด้วยกันคือ พฤติกรรมของนักการเมือง ผู้ที่เกี่ยวข้องทางการเมือง พรรคการเมือง การเลือกตั้ง นโยบายของรัฐบาล เหตุการณ์สําคัญตามกระแส และสถาบันที่เกี่ยวข้องทางการเมือง อีก ส่วนหนึ่งคือกลวิธีที่ใช้ในการล้อเลียนพบว่ามี 4 ประเภทคือ การทําให้เป็นเรื่องล้อเล่น การเปรียบเทียบ การกล่าวเกินจริง และการสลับบทบาท โดยเนื้อหาทั้งหมดสะท้อนถึงความไม่ไว้วางใจต่อรัฐบาลใน มุมมองของประชาชน เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงจัดการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการหลังจาก การรัฐประหารในปี 2557 และถูกปกครองด้วยคณะรักษาความสงบแห่งชาติมาเป็นเวลา 5 ปี ซึ่งการเลือกตั้ง ดังกล่าวมีข้อเรียกร้องเรื่องคุณสมบัติของผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง รวมไปถึงเกิดการคุกคามนักกิจกรรม ทางการเมืองและประชาชนที่แสดงความคิดเห็นตามหลักการประชาธิปไตยบนสังคมสื่อออนไลน์ซึ่ง ถูกมองว่าเป็นพื้นที่สาธารณะในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระตามเสรีภาพ กลับถูกควบคุมด้วยอํานาจที่มองไม่เห็น ทําให้การนําเสนอความคิดเห็นทางการเมืองต้องมีกลวิธีเพื่อหลีกเลี่ยงเหตุขัดแย้ง ดังกล่าวด้วยการใช้ “การ์ตูนล้อเลียนการเมือง ซึ่งมีบทบาทสําคัญที่ทําให้เนื้อหาจากประเด็นทางการเมือง ถูกปรับให้เข้าถึงง่าย ลดความตึงเครียดภายในสาร ไม่มีข้อความกํากับ และเปิดโอกาสให้กับผู้อ่าน จินตนาการและทําความเข้าใจในแบบของตนเอง เป็นขั้นเริ่มต้นของการต่อสู้ทางความคิดทางการเมือง ของผู้ใช้งานบนสังคมสื่อออนไลน์โดยใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนการแสดงความคิดเห็น ดังกล่าวen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601832015 จันทรวรรณ ตระกุลผิว.pdf16.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.