Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69531
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Chatchote Thitaram | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Chaleamchat Somgird | - |
dc.contributor.advisor | Dr. Janine L. Brown | - |
dc.contributor.author | Patiparn Toin | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-12T02:01:35Z | - |
dc.date.available | 2020-08-12T02:01:35Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69531 | - |
dc.description.abstract | In Thailand, many elephants are used in tourism, with populations sustained by captive breeding. Many camps have breeding programs, but not all are successful. This study summarizes reproductive performance of elephants at seven tourist camps based on 4 to 21 years of breeding records. Age pyramid structures varied across camps, skewing older or younger, indicating differences in breeding success. Reproductive rates averaged 24.5 ± 8.9% and varied significantly across camps (2.8 – 69.2%). Based on parity, 76.5% of elephants were nulliparous, 8.2% produced one calf, and 15.2% were multiparous, with significant camp differences. Camps reported 1.10 ± 0.46 (range, 0.03-3.55) births per year, with a total of 19.6 ± 9.3 (range, 1-71) calves per camp. The age at first calving was 19.2 ± 1.1 (range, 8 – 40) years, mean inter-birth interval was 4.4 ± 0.2 (range, 1.8 – 7.9) years, and average gestation length was 653.9 ± 6.9 (range, 578 – 743) years. Birth sex ratio of all camps combined skewed slightly towards males - 1:0.75 (79 males: 60 females). Rates of abortions/stillbirths averaged 13.6%, and ranged from 3.5 – 75%. There were no obvious differences in management (e.g., number of bulls, estrous detection methods, work activities) that explained the range in breeding success, although lack of bull interest was a concern. This information can guide future studies to determine how specific practices affect reproductive performance, and emphasized the importance of breeding records to aid population management of captive elephants in Thailand. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Reproductive Performance of the Captive Asian Elephants in Large Camps | en_US |
dc.title.alternative | ประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์ของช้างเลี้ยงเอเชียในปางขนาดใหญ่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ช้างเอเชียในประเทศไทยส่วนใหญ่ถูกใช้ในการท่องเที่ยว โดยมีการรักษาประชากรเหล่านั้นด้วยการขยายพันธุ์นอกถิ่นอาศัย ซึ่งในหลายปางช้างมีการวางแผนการขยายพันธุ์ แต่ไม่ใช่ทุกปางที่จะประสบผลสำเร็จ ดังนั้นในการศึกษานี้เป็นการสรุปประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์ของปางช้างเพื่อการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ 7 แห่ง จากข้อมูลที่มีการบันทึกเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของช้างเป็นระยะเวลา 4 ถึง 21 ปี ในแต่ละปางช้างที่ศึกษามีลักษณะโครงสร้างปิรามิดประชากรช้างที่แตกต่างกัน บ่งบอกถึงความสำเร็จในการขยายพันธุ์ที่ต่างกัน จากการศึกษาได้ผลค่าประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์โดยรวมดังนี้ ค่าเฉลี่ยของอัตราการสืบพันธุ์ทั้งหมดคือ 24.5 ± 8.9% (2.8 – 69.2%) และมีความแตกต่างกันในแต่ละปาง จากลำดับท้องของแม่ช้างที่ให้ลูกมากกว่าหนึ่งเชือกมี 15.2% แม่ช้างที่ให้ลูกหนึ่งเชือกมี 8.2% และส่วนใหญ่ไม่เคยมีลูกถึง 76.5% ซึ่งจะมีความแตกต่างในแต่ละปาง ค่าเฉลี่ยอัตราการเกิดของลูกช้างต่อปี คือ 1.10 ± 0.46 (0.03-3.55) ตัวต่อปี คิดค่าเฉลี่ย เป็น 19.6 ± 9.3 (1-71) เชือกต่อหนึ่งปาง อายุเฉลี่ยแม่ช้างลำดับท้องแรก คือ 19.2 ± 1.1 (8 – 40 ) ปีและค่าเฉลี่ยช่วงห่างของลำดับท้อง คือ 4.4 ± 0.2 (1.8 – 7.9 ) ปีโดยมีค่าเฉลี่ยวันตั้งท้อง 653.9 ± 6.9 (578 – 743 ) วัน อัตราส่วนเพศของลูกช้างเพศผู้มีมากกว่าตัวเมียคิดเป็น 1:0.75 เพศผู้ 79 ต่อ เพศเมีย 60 เชือก อัตราการแท้งและตายแรกคลอดเฉลี่ยอยู่ที่ 13.6% (3.5 – 75%) การจัดการปางช้างที่ศึกษานั้นไม่แตกต่างกันมากในเรื่องของ จำนวนพ่อพันธุ์ การจับสัด ลักษณะงานที่ทำซึ่งเป็นปัจจัยต่อความสำเร็จของการขยายพันธุ์ ทั้งนี้ปัญหาของตัวพ่อพันธุ์ที่ไม่สนใจผสมพันธุ์ของแต่ละปางจึงไม่ควรมองข้าม ข้อมูลจากการศึกษานี้สามาถใช้เป็นแนวทางในการศึกษาในอนาคตเรื่องปัจจัยจำเพาะที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์ช้าง และเน้นถึงความสำคัญในการจดบันทึกการสืบพันธุ์เพื่อนำมาใช้การจัดการประชากรในปางช้างของประเทศไทย | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601431004 ปฏิภาณ โตอิน.pdf | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.