Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Jirawit Yanchinda-
dc.contributor.authorXu Pingen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:00:49Z-
dc.date.available2020-08-12T02:00:49Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69525-
dc.description.abstractWith the development of the economy, tourism is becoming the global industry and it is multiplying. Tourism shopping has become one of the most popular activities which contributes much to tourism income. As an important part of Thai culture and art, handicraft is one of the most potential tourism products in Chiang Mai. However, the promotion of handicrafts in Chiang Mai is not effective for Chinese tourists due to the lack of promotion knowledge based on Chinese tourists’ customer behavior. In order to solve the problem and fill the gap, this research aims to investigate Chinese tourists’ customer behavior towards handicrafts and identify critical knowledge for promoting handicrafts to Chinese tourists effectively. The research framework will be designed based on knowledge engineering methodology, marketing mix 4P and 4C theory and integrated marketing communication theory. Text mining method will be adopted to analyze the data of Chinese tourists’ comments. Literature review method will be used to acquire knowledge from explicit sources. Semi-structured interview will also be the staple method to extract critical knowledge from experienced specialists. The findings of this research mainly include two parts: first is the crucial knowledge for handicrafts promotion from the perspective of Chinese tourists’ demands and the communication process between the organization and Chinese tourists. Second is design the knowledge model of promotion strategy for handicrafts.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDesigning Knowledge Model of Promotional Strategy for Handicraft Productsen_US
dc.title.alternativeการออกแบบแผนที่ความรู้ของกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดสําหรับผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการพัฒนาทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยว ถือว่าเป็นอุตสาหกรรมระดับนานาชาติ และมีอัตราการ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในส่วนของการท่องเที่ยวแบบจับจ่ายใช้สอย (Tourism Shopping) เป็นการ ท่องเที่ยวที่ไดร้ับความนิยมสูงและสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นจากการท่องเที่ยว สินค้าหัตถกรรมไทย ส่วนใหญ่แสดงให้เห็นถึงความสําคัญของศิลปะและวัฒนธรรมของไทย เป็นสินค้าหนึ่งที่มีศักยภาพ ในการท่องเที่ยวมากที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ อย่างไรก็ตาม การตอบสนองการส่งเสริมด้านสินคา้ หัตถกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ต่อนักท่องเที่ยวชาวจีน ยังไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากการขาดความร ู้ ด้านการส่งเสริมการขายตามพฤติกรรมของลูกค้าชาวจีน การศึกษาครั้งนี้ได้แก้ไขปัญหาและปิดช่องว่าง โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อตรวจสอบพฤติกรรม ของลูกค้าชาวจีนที่มีต่องานสินค้าหัตถกรรม พร้อมระบุความรู้ที่สําคญั (Critical Knowledge) สําหรับ การส่งเสริมงานสินค้าหัตถกรรมแก่นักท่องเที่ยวชาวจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรอบการศึกษานี้ไดร้ับ การออกแบบตามวิธีการทางด้านวิศวกรรมความร ู้ (Knowledge Engineering) แนวคิดส่วนผสมทาง การตลาด หรือ 4P และ 4C รวมถึง แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน โดยใชว้ิธีการทําเหมือง ข้อมูล (Text Mining) มาวิเคราะห์ข้อเสนอแนะของนักท่องเที่ยวจีน และใชว้ิธีการทบทวนเอกสาร เพื่อให้ได้ความร ู้จากแหล่งที่ชัดเจน รวมถึงแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) นํามาใช้เป็นวิธีการหลักสําหรับดึงความรู้ที่สําคัญจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ ผลการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย 2 ส่วนหลกั คือ 1) ความรู้ที่สําคัญสําหรับการส่งเสริมสินค้าหัตถกรรมจากมุมมองของ ความต้องการของนักท่องเที่ยวจีนและกระบวนการสื่อสารระหว่างองค์กรกับนักท่องเที่ยวชาวจีน และ 2)การออกแบบโมเดลความร ู้กลยุทธ์การส่งเสริมการขายสําหรับสินค้าหัตถกรรมen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132024 XU PING.pdf5.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.