Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69519
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Sirida Youngchim | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Khajornsak Tragoolpua | - |
dc.contributor.author | Pakornswit Sathongdejwisit | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-12T02:00:05Z | - |
dc.date.available | 2020-08-12T02:00:05Z | - |
dc.date.issued | 2020-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69519 | - |
dc.description.abstract | Cryptococcus neoformans is an opportunistic fungus that causes cryptococcosis in immunocompromised patients, especially for human immunodeficiency virus (HIV). The aim of this study was to develop the latex agglutination ( LAT) and lateral flow immunoassay ( LFIA) for detecting capsular antigens of Cryptococcus by using monoclonal antibody ( MAb) 18B7. In addition, MAb 18B7 is able to react with all 4 serotypes of C. neoformans. To develop the rapid tests of cryptococcosis, MAb 18B7 and capsular antigens of C. neoformans were prepared. For production of antibody, MAb 18B7 was concentrated and purified by protein G affinity chromatography, then the purity and characteristic of MAb were confirmed by SDS-PAGE and immunoblotting, respectively. The immunoreactivities of MAb 18B7 against capsular antigens of other serotypes of Cryptococcus spp. were shown as follow; serotype A ( H99) = B ( 14407) > B ( 6956) > A ( 8710) > D ( 10513) , respectively. No crossreactivity was found against other pathogenic fungi, except antigen from Trichosporon spp. The limit of detection (LOD) of LAT-18B7 against capsular antigens was ranging between 50-100 ng/ ml depended on the serotypes of Cryptococcus spp. The evaluation of LAT-18B7 performance and its comparison with the Cryptococcus Antigen Latex Agglutination Test System (CALAS) were conducted in cerebrospinal fluid (CSF) and serum of cryptococcosis as well as negative controls of healthy individual and other infectious patients. The sensitivity and specificity of LAT-18B7 against 25 positive CSF was exhibited 92% and 76%, respectively compared to CALAS. In addition, the performance against 63 serum samples was shown 69.70 sensitivity and 66.67% specificity. No false positive of LAT-18B7 was detected in both the other infectious patients and healthy volunteers. In addition to the development of LFIA-18B7, the LOD of capsular antigens of all serotypes of Cryptococcus was 0.63 ng/ml. No cross reaction was found against other pathogenic fungi, except antigen of Trichosporon spp. which the LOD was 500 ng/ml. To examine the performance of the test, LFIA-18B7 was conducted in CSF and serum compared to commercial kit of CrAg from IMMY. The sensitivity and specificity of LFIA-18B7 exhibited 92.86% and 100% tested against 28 CSF of cryptococcosis and no positive result in patients with other infections was detected. The 27 positive and 24 negative sera detected with CrAg were tested against LFIA-18B7, the sensitivity and specificity were 92.59% (24/27) and 95.83% (23/24), respectively. From the stability test both LAT-18B7 and LFIA-18B7 were still stable for 3 months. As a result, all data indicated that both diagnostic assays can detect capsular antigens of Cryptococcus, although LAT-18B7 is needed to improve more sensitivity and specificity. On the other hand, LFIA-18B7 can be applied to be a candidate to diagnose cryptococcosis in serodiagnosis with reliable, reproducible and cost-effective reagent, especially useful in countries where the commercial kit is not generally available and must be obtained at a high cost. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Rapid Diagnosis of Cryptococcus neoformans Infection by Using Specific Monoclonal Antibody 18B7 | en_US |
dc.title.alternative | การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อรา Cryptococcus neoformans แบบรวดเร็วโดยใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดี ชนิด 18B7 | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | Cryptococcus neoformans จัดเป็นเชื้อราก่อโรคฉวยโอกาส ที่เป็นสาเหตุของโรคติดเชื้อ cryptococcosis โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ติดเชื้อ human immunodeficiency virus (HIV) การศึกษานี้ จึง มุ่งเน้นในการพัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วชนิด latex agglutination (LAT) และ lateral low imunoละay (LFIA) สําหรับการตรวจหาแคปซูลแอนติเจนของเชื้อ C. neoformans ด้วยการใช้โมโนโคนอลแอนติบอดี (MAb) 18B7 ที่มีความจําเพาะต่อเชื้อ C. neoformans ทั้ง 4 ชิโรไทป์ ใน ขั้นตอนการพัฒนาชุดตรวจนั้น ประกอบด้วย โมโนโคลนอลแอนติบอดี 18B7 (Mab18Bึ7) และ แคปซูลแอนติเจนของเชื้อ C. neoformans ในขั้นตอนการเตรียม MAb 18B7 ให้บริสุทธิ์นั้น ใช้หลักการ protein G affinity chromatography ผลการทดสอบ immunoreactivity และ ความจําเพาะ โดยวิธี Inhibition ELISA พบว่า MAb 18B7 สามารถทําปฏิกิริยาได้กับแคปซูลแอนติเจนของเชื้อ C. Neoformans ในซีโรไทป์ต่างๆ ดังนี้ ๆ ชิโรไทป์ A (H99) = B (14407) > B (6956) > A (8710) > D (10513) ตามลําดับ และไม่พบการทําปฏิกิริยากับแอนติเจนของเชื้อราอื่น ๆ นอกจากแอนติเจนของ เชื้อ Trichosporon spp. ส่วนในการพัฒนาชุดตรวจ LAT-18B7 พบว่าสามารถตรวจหาแคปซูล แอนติเจนที่มีความเข้มข้นอย่างน้อย 50-100 ng/ml ขึ้นอยู่กับชนิดของชิโรไทป์ของเชื้อ Cryptococcus ผลการประเมินประสิทธิภาพความน่าเชื่อถือของชุดตรวจ LAT-18B7 ทั้งจากน้ําไขสันหลังและซีรั่มของผู้ป่วยที่ติดเชื้อ C. neoformans และกลุ่มควบคุม จากการศึกษาตัวอย่างของน้ําไขสันหลังจํานวน 25 รายที่ให้ผลบวกต่อการตรวจโดยวิธี latex agglutination ซึ่งเป็นชุดตรวจจาก CALAS® พบผลบวก เมื่อใช้ LAT -18B7 จํานวน 23 ราย ในขณะที่น้ําไขสันหลังที่เป็นกลุ่มควบคุมจํานวน 25 รายที่ให้ผลลบ พบว่า 9 รายให้ผลลบ ดังนั้นจากผลการประเมินชุดตรวจ LAT-18B7 พบค่าความไวร้อยละ 92 และค่าความจําเพาะร้อยละ76 ส่วนการประเมินชุดตรวจ LAT-18B7 กับสิ่งส่งตรวจซีรั่มจํานวน ทั้งหมด 63 ราย พบค่าความไวร้อยละ 69.70 และความจําเพาะร้อยละ 66.67 ในขณะที่ทั้งน้ําไขสัน หลังและซีรั่มของผู้ป่วยที่ติดเชื้ออื่น ๆ และกลุ่มคนปกติ ไม่พบผลบวกเลย ส่วนการพัฒนาชุดตรวจ LFIA-18B7 เมื่อนํามาทดสอบกับแคปซูลแอนติเจนของเชื่อ Cryptococcus แล้วพบว่าสามารถตรวจหาแคปซูลแอนติเจนที่มีความเข้มข้นอย่างน้อย 0.63 ng/ml และไม่พบว่าแอนติเจนของเชื้อราชนิดอื่น ๆ ให้ผลบวกต่อการตรวจโดยใช้ LFIA-18E7 ยกเว้นแอนติเจนของเชื้อรา Trichosporon spp. ซึ่งต้องมีค่าความเข้มขึ้นอย่างน้อย 500 ng/ml และเมื่อนําชุด ตรวจ LFIA-18B7 ไปทดสอบกับน้ําไขสันหลังจํานวน 28 รายซึ่งให้ผลบวกต่อการตรวจโดยใช้ชุด ตรวจ CrAg® บริษัท IMMY พบว่าให้ผลบวก 26 ราย ส่วนน้ําไขสันหลังจากผู้ป่วยโรคอื่นๆ จํานวน 25 ราย พบว่าให้ผลลบทั้งหมด ผลการประเมินชุดตรวจ LFIA-18B7 มีค่าความไวร้อยละ 92.86 และค่า ความจําเพาะ ร้อยละ 100 ในขณะที่เมื่อนําไปทดสอบกับซีรั่มจํานวน 51 ราย โดยซีรั่มที่ให้ผลบวกด้วย วิธี CrAg® มีจํานวน 27 รายและผลลบจํานวน 24 ราย เมื่อใช้การตรวจด้วยวิธี LFIA-18B7 พบว่าให้ ผลบวก 25 รายและผลลบ 23 ราย เมื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดตรวจ LFIA-18B7 มีค่าความไว ร้อยละ 92.59 และค่าความจําเพาะร้อยละ 95.83 และจากการทดสอบความคงตัวของชุดตรวจ LAT-18B7 และ LFIA-18B7 พบว่ามีค่าคงที่ของการตรวจหาแคปซูลแอนติเจนของเชื้อ Cryptococcus ภายในระยะเวลา 3 เดือน ดังนั้นชุดตรวจ LAT-18B7 และ LFIA-18B7 ที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถ นําไปใช้ตรวจหาแคปซูลแอนติเจนของเชื้อ Cryptococcus ได้ แม้ว่าชุดตรวจ LAT-18B7 ยังคงต้องได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มความไวและความจําเพาะให้มากขึ้น ส่วนชุดตรวจ LFIA-18B7 สามารถ นําไปใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรค cryptococcasis ได้ โดยการพัฒนาในขั้นตอนต่อไปเพื่อเข้าสู่การคําเนินการในเชิงพาณิชย์ | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590731006 ปกรณ์สวิส สระทองเดชวิสิฐ.pdf | 7.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.