Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69509
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ | - |
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญพิชชา จิตต์ภักดี | - |
dc.contributor.author | นฤมล ไชยวารีย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-12T01:59:01Z | - |
dc.date.available | 2020-08-12T01:59:01Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69509 | - |
dc.description.abstract | Waiting time management is one of the key factors of establishing an effective service system management of outpatient clinics. The purpose of this developmental study was to improve the service process in the Cardiovascular Clinic, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, using the Lean Concept of Womack and Jones (2003). The study population consisted of 13 personnel working in the Cardiovascular Clinic. The study samples were the minor activities of the service process in the Cardiovascular Clinic calculated by using the standard time. The study instruments included: 1) a table of describing the service process, 2) a flow process diagram, 3) an activity value analysis form of 4) a time spent on the activities record form, and 5) a focus group interview guidelines regarding obstacles and the recommendations for improving the service process. These instruments were validated by five experts and the interrater reliability of two observers for the time recording was 1.0. The data were analyzed using descriptive statistics. The results were as follows: 1. The improved service process of the Cardiovascular Clinic consisted of 4 major activities and 19 minor activities, which was a reduction of 3 minor activities reduced from the process before improvement. 2. The standard time of the service process was 93.59 minutes, which was a reduction of 36.07 minutes reduced from the process before improvement. 3. The obstacles and suggestions for improving the service process of the Cardiovascular Clinic could be categorized into 4 dimensions: 1) management, 2) personnel, 3) communications, and 4) equipment. The results of this study indicated that the development of service processes using the Lean Concepts can reduce the number of activities and time in the service process.Therefore, the administrators can apply the Lean Concept to improve the quality of the service systems in other units within the organization. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อปรับปรุงกระบวนการให้บริการ คลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Applying Lean Thinking to Improve Service Process, Cardiovascular Clinic, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การบริหารจัดการเกี่ยวกับระยะเวลารอคอยเป็นปัจจัยสาคัญประการหนึ่งของการจัดระบบบริการของคลินิกผู้ป่วยนอกที่มีประสิทธิภาพ การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการให้บริการคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยประยุกต์ใช้แนวคิดลีนตามกรอบแนวคิดของ วอแม็ก และ โจนส์ (Womack & Jones, 2003) ประชากรในการศึกษาคือบุคลากรที่ปฏิบัติงานในคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือดจานวน 13 คน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ กิจกรรมย่อยของกระบวนการให้บริการในคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือดที่คานวณโดยใช้เวลามาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1) ตารางอธิบายลักษณะกิจกรรมในกระบวนการให้บริการ 2) แผนภูมิกระบวนการไหลของงาน 3) แบบวิเคราะห์คุณค่าของกิจกรรม 4) แบบบันทึกปริมาณเวลาที่ใช้ในกิจกรรม 5) แนวคาถามในการสัมภาษณ์กลุ่มเกี่ยวกับอุปสรรคและข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนากระบวนการบริการ เครื่องมือเหล่านี้ได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน และทดสอบความเที่ยงของการสังเกตจากผู้สังเกต 2 คน สาหรับการบันทึกเวลาเท่ากับ 1.0 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า 1. กระบวนการให้บริการของคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ปรับปรุงประกอบด้วย 4 กระบวนการหลัก และ 19 กิจกรรมย่อย ลดลงจากกระบวนการก่อนปรับปรุง 3 กิจกรรมย่อย 2. ระยะเวลามาตรฐานที่ใช้ในกระบวนการให้บริการของคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือด 93.59 นาที ซึ่งลดลงจากกระบวนการก่อนปรับปรุง 36.07 นาที 3. ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการให้บริการคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือด แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1) การบริหารจัดการ 2) บุคลากร 3) การสื่อสาร 4) วัสดุอุปกรณ์ ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากระบวนการให้บริการโดยใช้แนวคิดลีนสามารถลด จานวนของกิจกรรมและระยะเวลาในกระบวนการให้บริการ ดังนั้นผู้บริหารสามารถนาแนวคิดลีนไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพระบบบริการของหน่วยงานอื่นในองค์การได้ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601231024 นฤมล ไชยวารีย์.pdf | 4.19 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.