Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.สุจิตรา รัตน์จิรานุกูล-
dc.contributor.authorธีรพัชร อาภรณ์รัตน์en_US
dc.date.accessioned2020-08-11T02:27:24Z-
dc.date.available2020-08-11T02:27:24Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69506-
dc.description.abstractA high resolution regional climate model developed by Meteorological Research Institute, Japan (MRI) called Non Hydrostatic Regional Climate Model (NHRCM) was used to evaluate precipitation and other parameters over Thailand during southwest monsoon season. Model configurations such as Bulk type microphysics, KF convective, MYNN3 PBL, radiation and land surface scheme were applied to simulate those climate parameters under the highest greenhouse gas emission scenario, RCP8.5. The experiments of this research were divided to two phases. The first one was to evaluate precipitation change during the period of June to September (JJAS) between the baseline period (1981 - 2000) and the future period (2080 - 2099). It was found that the precipitation in Thailand increases during the future period up to 100%. The second phase, 5-day cumulative precipitations and the average wind vector (pentad) were used to evaluate the southwest monsoon onset and monsoon active period. It shows that the average monsoon duration in the future is 1 pentad longer than its in the baseline. Furthermore, rain breaks during the monsoon season were also analysed. It is found that there is no significant change in rain breaks between baseline and future period.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินการเปลี่ยนแปลงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในประเทศไทยด้วย แบบจำลองภูมิอากาศระดับภูมิภาคความละเอียดสูงen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Southwest Monsoon Change over Thailand by High-resolution Regional Climate Modelen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแบบจำลองสภาพอากาศความละเอียดสูงแบบ Non Hydrostatic Regional Climate Model หรือ NHRCM ถูกพัฒนาโดยสถาบัน Meteorological Research Institute (MRI) ประเทศญี่ปุ่น ถูก นา มาใช้เพื่อจำลองสภาพอากาศของประเทศไทยเพื่อประเมินค่าปริมาณน้ำฝนและตัวแปรอื่นๆ โดยใน แบบจำลองมีการใช้กระบวนการทางฟิสิกส์หลายอย่าง ได้แก่ Bulk type microphysics, KF convective, MYNN3 PBL, radiation และ land surface scheme เพื่อใช้ในการจำลองสภาพอากาศ ภายใต้เงื่อนไขการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกแบบ RCP8.5 ในงานวิจัยนี้แบ่งการพิจารณาออกเป็น สองส่วน โดยส่วนแรกคือการประเมินการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้า ฝนในช่วงฤดูมรสุมตั้งแต่เดือน มิถุนายนจนถึงเดือนกันยายน (JJAS) เปรียบเทียบกันระหว่างปีฐาน (ค.ศ.1981 - 2000) และปีอนาคต (ค.ศ.2080 - 2099) โดยพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้า ฝนมีค่าเพิ่มขึ้นในปีอนาคตมากถึง 100 เปอร์เซ็นต์ และส่วนที่สองคือการประเมินการเปลี่ยนแปลงของวันเริ่มต้นมรสุมรวมทั้งความยาวนาน ของมรสุม โดยใช้ข้อมูลปริมาณน้ำฝนสะสมและข้อมูลทิศทางของลมเฉลี่ยติดต่อกัน 5 วัน (pentad) พบว่าในปีความยาวนานของฤดูมรสุมในปีอนาคตมีความยาวนานกว่าปีฐาน 1 pentad หรือ 5 วัน นอกจากนี้ยังได้มีการพิจารณาช่วงของฝนทิ้งช่วงระหว่างฤดูมรสุม ซึ่งพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ไม่มีนัยสำคัญในทั้งช่วงปีฐานและปีอนาคตen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580531159 ธีรพัชร อาภรณ์รัตน์.pdf9.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.