Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69488
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Virapong Saeng-Xuto-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Sutthikan Tipayakesorn-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Kreetha Kaewkhong-
dc.contributor.authorJutamas Nooncharten_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:37:07Z-
dc.date.available2020-08-10T01:37:07Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69488-
dc.description.abstractThe objective of this study was to develop science teaching by using collaborative problem solving concept and to compare the collaborative problem solving skills of students between before and after learning science by using and not using collaborative problem solving concepts. 60 students who studied elementary education major of Faculty of Education at Chiang Mai Rajabhat University, 2018 in class no.1 (30 students) and in class no.2 (30 students) were drawn to be the sample of the study. They were selected from purposive sampling. The results were found as follows: 1) science teaching model by using collaborative problem solving concept of Faculty of Education students at Chiang Mai Rajabhat University had 7 components that are testing of the 7 learning units: unit 1 (ecosystem), unit 2 (natural resources), unit 3 (genetic), unit 4 (substance and substance’s property), unit 5 (force and motion), unit 6 (energy) and unit 7 (eclipse). There were development with a performance from 198 to 468 with students in class no.1 (The experimental group that received collaborative problem solving concept teaching), but it was lower than the 500 that was a performance benchmark; 2) it was found that the development of science teaching by using collaborative problem solving model with the students of the Faculty of Education, Chiang Mai Rajabhat University between students using before class no.1 and after studying in class no.1, it was shown that the group of students using collaborative problem solving model class no.1 had higher academic results than before study and has a higher score than classroom 2, which did not use collaborative problem solving model with a statistical significance of 0.05.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of a Science Instructional Model Based on Collaborative Problem Solving Framework for Students of the Faculty of Education, Chiang Mai Rajabhat Universityen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้กรอบคิดการ แก้ปัญหาแบบร่วมมือสำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้กรอบคิดการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และเปรียบเทียบทักษะในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยทั้งใช้และไม่ใช้กรอบคิดการแก้ปัญหาแบบร่วมมือในการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการประถมศึกษา ที่เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 60 คนที่ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง คือ ห้องที่1 จำนวน 30 คน และห้องที่2 จำนวน 30 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แนวคิดการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีองค์ประกอบคือ การทดสอบหน่วยการเรียนรู้ทั้ง 7 หน่วยดังนี้ หน่วยที่ 1 คือ ระบบนิเวศ หน่วยที่ 2 คือ ทรัพยากรธรรมชาติ หน่วยที่ 3 คือ พันธุกรรม หน่วยที่ 4 คือ สารและสมบัติของสาร หน่วยที่ 5 คือ แรงและการเคลื่อนที่ หน่วยที่ 6 คือ พลังงาน และหน่วยที่ 7 คือ อุปราคา มีการพัฒนาขึ้นโดยมีคะแนนสูงขึ้นกว่าก่อนใช้รูปแบบการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้กรอบคิดการแก้ปัญหาแบบร่วมมือจาก 198 เป็น 468 คะแนน 2) รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้กรอบคิดการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มีการพัฒนาขึ้นในการเปรียบเทียบทักษะในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กลุ่มนักศึกษาห้องที่1ซึ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มนักศึกษาห้องที่2ซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งกลุ่มที่เป็นกลุ่มทดลองที่ใช้กรอบคิดในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือมีคะแนนสูงขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ใช้กรอบคิดในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือในการเรียนการสอนen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570252002 จุฑามาศ หนุนชาติ.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.