Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69475
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prof. Dr. Songsak Sriboonchitta | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Chukiat Chaiboonsri | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Warattaya Chinnakum | - |
dc.contributor.author | Kewalin Somboon | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-10T01:35:28Z | - |
dc.date.available | 2020-08-10T01:35:28Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69475 | - |
dc.description.abstract | Numerous previous studies concentrated on modeling volatilities in financial econometrics or discussing the spillover effects among the crop markets, contrast with few studies focused on the volatility in international trade or trade liberalization and economic integration. ASEAN community is, by far, the world’s largest natural rubber exporter with 79% of its net exports, 67% of net global production, and about 57% of global rubber demand are from the Asia-pacific rubber exporters. This can be expressed that the world’s largest and strongest in natural rubber consuming belong to the Asia-pacific since 1986 due to their population and economic growth. The aim of this thesis is to investigate the volatility of rubber markets in ASEAN which are more likely to be highly correlated. When several series displaying temporal or contemporaneous dependencies are available, it is useful to analyze them jointly, by viewing them as the components of a vector-valued (multivariate) process. Consequently, there would be expected to be substantial gains in efficiency in modeling them jointly by using multivariate GARCH models. The estimation of the proper volatility models of rubber markets in ASEAN in order to capture volatility is needed. Hence, the multivariate GARCH, DVECH, BEKK, CC, DCC, VARMA-GARCH, VARMA-AGARCH, and the two-step Copula-GARCH models are applied to examine volatilities of five ASEAN nations in their imports and exports of natural rubber. However, these multivariate GARCH model does not account for tail dependence of rubber markets in ASEAN.Regarding the model selection, this study focuses on modeling exports, imports and their volatilities of natural rubber in ASEAN, the AIC for both ASEAN natural rubber imports and exports. The estimated results from the Copula-GARCH model provides the smallest AIC compared with MGARCH, DVECH, BEKK, CC, DCC, VARMA-GARCH, and VARMA-AGARCH , indicating that the Copula-GARCH model is the best-fitted model for our data compared with other models. Thus, we also gain the advantage of employing copula-GARCH model in terms of investigating the tail dependence structure of natural rubber markets in ASEAN. The empirical results exhibit the first tree vine copula construction indicated the correlation between Thailand and rubber exports in ASEAN is stronger than the imports section. The second tree vine copula construction presents the impact of Thailand on ASEAN rubber exports is similar to ASEAN rubber imports which can be concluded that both ASEAN rubber imports and exports have a relationship with Thailand and Malaysia. Meaning that when one ASEAN country increase their volume while Thailand and Malaysia volume is high, there market activities has been influenced by Thailand and Malaysia. Thus, there is a relationship between the ASEAN community in both economic sections. Lastly, this thesis is the first research studies the volatility of Natural Rubber import and export markets in ASEAN which refers to market risk. The understanding of the risk of rubber markets will help policymakers to reduce these risks. Moreover, estimate the proper volatility models of rubber markets in ASEAN in order to capture volatility is needed. This study also obtained the most proper tool to investigate the volatility and be able to obtain the structure of relationship among rubber markets in ASEAN by using copula model to explain their tail dependence. Nevertheless, in this case investors and policymakers are be able to obtain the boundary of market fluctuation which would be helpful for them to analyze and diversify risk. Lastly, the relationship and performance of Natural Rubber import and export in ASEAN community can be defined by our study. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Modeling Exports Imports and Their Volatilities of Natural Rubber in ASEAN | en_US |
dc.title.alternative | การจาลองแบบการส่งออก นาเข้า และความผันผวนของการส่งออกและนาเข้าของยางธรรมชาติในอาเซียน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานศึกษาจานวนมากก่อนหน้านี้เพ่งความสนใจไปที่แบบจาลองความผันผวนทางเศรษฐมิติทางการเงินหรืออภิปรายถึงการส่งผ่านผลกระทบระหว่างตลาดพืชผล ตรงกันข้ามกับงานศึกษาส่วนน้อยที่มุ่งความสนใจไปที่ความผันผวนของการค้าระหว่างประเทศ การเปิดการค้าเสรี และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ประชาคมอาเซียนเป็นเจ้าแห่งการส่งออกยางธรรมชาติด้วย ๗๙% ของการส่งออกสุทธิ, ๖๗% ของการผลิตทั่วโลกสุทธิ และกว่า ๕๗% ความต้องการยางทั่วโลกล้วนมาจากผู้ส่งออกยางในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก แสดงให้เห็นว่าเจ้าแห่งการบริโภคยางธรรมชาติที่แข็งแกร่งที่สุดได้แก่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกนับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๙ สืบเนื่องจากการเติบโตทางประชากรและการเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาค วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีเพื่อศึกษาความผันผวนของตลาดยางในอาเซียนซึ่งมีแนวโน้มความสัมพันธ์กันเป็นอย่างมาก เมื่อมีหลากหลายชุดจานวนที่แสดงถึงการขึ้นต่อกันเพียงชั่วคราวหรือเกิดขึ้นพร้อมกัน จะเป็นประโยชน์มากหากได้วิเคราะห์พวกเขาร่วมกัน โดยศึกษาในส่วนของค่าเวกเตอร์ (หลายตัวแปร) ดังนั้นแบบจาลองหลายตัวแปรการ์ชอาจมีประสิทธิภาพเป็นอย่างมากในการสร้างแบบจาลองร่วมกัน การประเมินแบบจาลองความผันผวนที่เหมาะสมของตลาดยางในอาเซียนเพื่อศึกษาความผันผวนนั้นเป็นสิ่งที่จาเป็น ด้วยเหตุนี้แบบจาลองหลายตัวแปรการ์ช, ดีเวค, เบคค์, ซีซี, ดีซีซี, วาร์มา-การ์ช, วาร์มา-เอการ์ช และแบบจาลองสองขั้นตอนคอปูลา-การ์ช ได้ถูกนามาใช้เพื่อศึกษาความผันผวนของประเทศอาเซียนทั้งห้าในการนาเข้าและส่งออกยางธรรมชาติ อย่างไรก็ตามแบบจาลองหลายตัวแปรการ์ชเหล่านี้มิได้คานึงถึงการพึ่งพากันในตลาดยางในอาเซียนเกี่ยวกับการเลือกใช้เครื่องมือ การศึกษานี้มุ่งค้นคว้าแบบจาลองการส่งออก นาเข้าและความผันผวนของยางธรรมชาติในอาเซียน ค่าเกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคเคะและเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์ของทั้งในการนาเข้าและส่งออกยางธรรมชาติ โดยผลลัพธ์ที่ได้จากโมเดลคอปูลา-การ์ช ให้ค่าเกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคเคะและเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับโมเดลเอ็มการ์ช, ดีเวค, เบคค, ซีซี, ดีซีซี, วาร์มา-การ์ช, และ วาร์มา-เอการ์ชนั่นหมายความว่า โมเดลสองขั้นตอนคอปูลา-การ์ช เป็นโมเดลที่ดีที่สุดสาหรับข้อมูลของเราเมื่อเปรียบเทียบกับโมเดลอื่นๆ ดังนั้นเรายังได้ประโยชน์จากการเลือกใช้โมเดลคอปูลา-การ์ช ในการศึกษาถึงโครงสร้างความสัมพันธ์ภายในตลาดยางธรรมชาติภายในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการโครงสร้างของทรีไวน์คอปูลา ลาดับแรกชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับผู้ส่งออกยางในอาเซียนมีความสัมพันธ์มากกว่าภาคการนาเข้ายางธรรมชาติของอาเซียน โครงสร้างของทรีไวน์คอปูลา ลาดับที่สองแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของประเทศไทยต่อการส่งออกยางในอาเซียนซึ่งคล้ายคลึงกับในการนาเข้ายางธรรมชาติของอาเซียน จึงสามารถสรุปได้ว่าทั้งภาคการนาเข้าและส่งออกยางของอาเซียนล้วนมีความสัมพันธ์กับประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย นั่นหมายความว่าเมื่อหนึ่งประเทศในอาเซียนเพิ่มปริมาณขึ้นขณะที่ไทยและมาเลเซียมีปริมาณที่สูง กิจกรรมทางการตลาดของพวกเขาล้วนได้รับอิทธิพลจากไทยและมาเลเซีย จึงสามารถกล่าวได้ว่าภายในตลาดนาเข้าและส่งออกยางธรรมชาติของอาเซียนล้วนมีความสัมพันธ์ต่อกัน สุดท้ายนี้ ความผันผวนของตลาดหมายถึงความเสี่ยงทางการตลาด เพราะฉนั้นการเข้าใจความเสี่ยงของตลาดยางพาราจะช่วยให้ผู้กาหนดนโยบายสามารถลดความเสี่ยงดังกล่าว โดยในกรณีนี้นักลงทุนและผู้กาหนดนโยบายจะได้ทราบถึงขอบเขตความผันผวนภายในตลาดอันจะเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์และกระจายความเสี่ยง | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591655904 เกวลิน สมบูรณ์.pdf | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.