Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr.WicheanKriwattanawong-
dc.contributor.authorKledsaiPoopakunen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:35:08Z-
dc.date.available2020-08-10T01:35:08Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69473-
dc.description.abstractThisworkaimstoinvestigatethephysicalpropertiesofsamplegalaxiesinAbell 2142cluster.Thephotometricandspectroscopicdatausinginthisworkwerecollected fromtheSloanDigitalSkySurvey(SDSS),selectedwithin2criteria;localedwithin100 arcminutesfromAbell2142centreandredshift0.0781≤z≤0.1038foravoideffectof backgroundandforeground.OurresultrevealsthatgalaxysampleinAbell2142canbe separatedinto2groupswhichgroupI(0.0781≤z≤0.0850),subclusterconnectingtothe filamentregion,andgroupII(0.0850 < z ≤0.1038),membersaroundtheclustercentral region.Moreover,Therelationbetweenapparentmagnitudein g filterbandandcolour indexsuggestthattheparameter u − z = 3.0canbeuseasacriteriatoseparatesamples intoblue(u − z ≤ 3.0)andred(u − z > 3.0)sequencegalaxies.Wealsoconsiderthe starformationactivityinthesample,wedefinedgalaxywiththeequivalentwidthofHα (EW(Hα) )greaterthan5Åasanactivegalaxyandfoundthatthesampleinsubcluster connectingtothefilamentregionshowsevidenceofstarformingactivitymorethanthe sampleinmembersaroundtheclustercentralregion.Thebluesequencegalaxiesalso tendtobemoreactivegalaxiesthanredsequencegalaxies.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titlePhysicalPropertiesDistributionofGalaxyPopulationin Abell2142Clusteren_US
dc.title.alternativeการกระจายสมบัติทางกายภาพของประชากรกาแล็กซีในกระจุกกาแล็กซีเอเบลล์ 2142en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายสมบัติทางกายภาพของประชากรกาแล็กซีในกระจุกกาแล็กซีเอเบลล์ 2142 โดยใช้ข้อมูลเชิงแสงและข้อมูลทางสเปกตรัมจาก Sloan Digital Sky Survey (SDSS)โดยคัดเลือกข้อมูลภายใต้ 2 เงื่อนไข คือ ตาแหน่งอยู่ภายใน 100 ลิปดาจากใจกลางกระจุกกาแล็กซีเอเบลล์ 2142 และค่าการเลื่อนทางแดงอยู่ระหว่าง 0.0781 ถึง 0.1038 เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบจากวัตถุนอกกระจุกกาแล็กซีทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง จากผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างในกระจุกกาแล็กซีเอเบลล์ 2142 สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมีค่าการเลื่อนทางแดงอยู่ระหว่าง 0.0781 ถึง 0.0850 เป็นกลุ่มที่มีการเชื่อมต่อกับขอบเขตที่เป็นฟิลาเมนต์ และกลุ่มสองมีค่าการเลื่อนทางแดงอยู่ระหว่าง 0.0850 ถึง 0.1038 เป็นกลุ่มสมาชิกที่อยู่รอบใจกลางกระจุกกาแล็กซี นอกจากนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างแมกนิจูดปรากฏในย่านฟิลเตอร์ g กับดัชนีสีบ่งบอกว่าพารามิเตอร์ u - z = 3.0 สามารถใช้เป็นตัวแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น ประชากรกาแล็กซีลาดับสีน้าเงิน (u - z ≤ 3.0) และสีแดง (u - z > 3.0) เราได้ทาการศึกษากิจกรรมการเกิดดาวในกลุ่มตัวอย่าง โดยเราได้ตั้งนิยามว่ากาแล็กซีที่มีความกว้างสมมูลของไฮโดรเจนอัลฟามากกว่า 5 อังสตรอมเป็นกาแล็กซีแอ็คทีฟ และพบว่ากลุ่มที่มีการเชื่อมต่อกับขอบเขตที่เป็นฟิลาเมนต์มีแนวโน้มที่จะมีกิจกรรมการเกิดดาวมากกว่ากลุ่มสมาชิกที่อยู่รอบใจกลางกระจุกกาแล็กซี ประชากรกาแล็กซีลาดับสีน้าเงินยังมีแนวโน้มที่จะเป็นกาแล็กซีแอ็คทีฟมากกว่าประชากรกาแล็กซีลาดับสีแดงen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531116 เกล็ดทราย ภูผาคุณ.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.