Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69468
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Wirote Tuntiwechapikul | - |
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Teera Chewonarin | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Arisa Bonness | - |
dc.contributor.author | Ratasark Summart | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-10T01:34:37Z | - |
dc.date.available | 2020-08-10T01:34:37Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69468 | - |
dc.description.abstract | Telomerase inhibition is proposed as a new strategy to treat cancer and prevent relapse of cancer and metastasis, with a promise of lesser toxicity to normal cells. Telomerase inhibitors are suggested to be the ideal class of drugs for patients diagnosed with benign cancer, and patients who are in cancer remission to prevent cancer relapse. Perylene derivatives have been studied as G-quadruplex ligands that inhibit telomerase by facilitating G-quadruplex formation at the 3-end of telomeric DNA, preventing the access of telomerase to its substrate. PIPER, the prototypic perylene derivative, has been shown to reduce telomerase activity in lung and prostate cancer cells, leading to telomere shortening and cellular senescence of these cancer cells. However, PIPER has a problem of hydrosolubility and the propensity to aggregate. In this study, we designed and synthesized a new asymmetric perylene diimide, aPDI-PHis, which has the same ethyl-piperidine group as PIPER on one sidechain, and histidine on another sidechain. We hypothesized that this compound would have a better hydrosolubility at the physiological relevant pHs but still possess G-quadruplex selectivity and telomerase inhibition. New perylene derivatives, including symmetric perylene diimide and asymmetric perylene diimide derivatives were synthesized and characterized. Their solubility and absorption spectra were studied. DNA binding selectivity of these compounds with various G-quadruplex motifs and duplex DNA was investigated using spectrophotometry, fluorescent intercalator displacement (FID) assay, and duplex-quadruplex competition. Results showed that aPDI-PHis, an asymmetric perylene diimide derivative, had a broader range of solubility than PIPER, the prototypic perylene diimide derivative. It also bound better to G-quadruplex and had better telomerase inhibition than PIPER. The results from studies of perylene derivatives in prostate cancer cells confirmed that these compounds could suppress hTERT expression as well as telomerase activity in PC3 and LNCaP cells. These results suggest that having two different sidechains with selective properties might enhance the activity of perylene derivatives, which might lead to a better drug to use as a telomerase inhibitor. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Synthesis and Biological Evaluation of Perylene Derivatives as Telomerase Inhibitors in Human ProstateCancer Cells | en_US |
dc.title.alternative | การสังเคราะห์และการประเมินผลทางชีวภาพของอนุพันธ์เพอริลีน เพื่อเป็นตัวยับยั้งเทโลเมอเรสในเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากมนุษย์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์เทโลเมอเรสเป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการรักษามะเร็งและป้องการกลับมาเกิดโรคใหม่ของเซลล์มะเร็งโดยไม่มีผลกระทบต่อเซลล์ปกติของร่างกาย เมื่อวิธีการดังกล่าวมีความปลอดภัยต่อเซลล์ปกติจึงได้มีการคิดค้นหาสารสังเคราะห์หรือยาที่สามารถออกฤทธิ์ในลักษณะดังกล่าว โดยในงานวิจัยนี้ได้ให้ความสนใจในสารกลุ่มอนุพันธ์เพอริลีนซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งเทโลเมอเรสโดยการเหนี่ยวนำให้เกิดโครงสร้าง G-quadruplex บริเวณปลายเทโลเมียร์นำไปสู่การยับยั้งการเข้าจับของเอนไซม์เทโลเมอเรส จากการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่า PIPER ซึ่งเป็นอนุพันธ์เพอริลีนตัวต้นแบบสามารถลดการทำงานของเทโลเมอเรสในเซลล์มะเร็งปอดและต่อมลูกหมาก นำไปสู่การหดสั้นลงของปลายเทโลเมียร์และการตายของเซลล์มะเร็ง อย่างไรก็ตามสารตัวดังกล่าวยังมีปัญหาในด้านความสามารถในการละลายและเกิดการตกตะกอน โดยในการศึกษานี้ได้ทำการออกแบบและสังเคราะห์อนุพันธ์เพอริลีนแบบอสมมาตรที่ตำแหน่งแขนข้างหนึ่งประกอบด้วยหมู่ ethyl-piperidine เช่นเดียวกับ PIPER และเพิ่มกรดอะมิโนฮิสทิดีนเข้าไปแทนที่หมู่ ethyl piperidine ของแขนอีกข้างโดยเรียกสารตัวใหม่นี้ว่า aPDI-PHis โดยได้ตั้งสมมุติฐานว่าสารตัวใหม่นี้อาจจะมีความสามารถในการละลายที่ดีขึ้นในสภาวะกรดเบส และยังคงความสามาถในการจับกับโครงสร้าง G-quadruplex และการยับยั้งเทโลเมอเรส ในการศึกษานี้ได้ทำการออกแบบและสังเคราะห์อนุพันธ์เพอริลีนแบบสมมาตรและอสมมาตร ทำการศึกษาคุณสมบัติการละลายและการดูดกลืนแสงที่ช่วงคลื่นต่างๆ ศึกษาความสามารถในการจับโครงสร้าง G-quadruplex ด้วยวิธีการ spectrophotometry, fluorescent intercalator displacement (FID) assay และ duplex-quadruplex competition จากการศึกษาพบว่า aPDI-PHis ที่เป็น อนุพันธ์เพอริลีนแบบอสมมาตรมีความสามารถในการละลายในสภาวะกรดเบสที่ดีกว่า PIPER รวมทั้งสามารถจับกับโครงสร้าง G-quadruplex และยับยั้งการทำงานของเทโลเมอเรสได้ดีมากขึ้น โดยจากการศึกษาในเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมาก PC3 และ LNCaP ได้มีการยืนยันว่าสารเหล่านี้สามารถยับยั้งการแสดงออกของ hTERT รวมทั้งการทำงานของเทโลเมอเรส ดังนั้นจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงหมู่แขนของอนุพันธ์เพอริลีนมีผลต่อการเพิ่มคุณสมบัติของสารที่นำไปสู่การยับยั้งเอนไซฒ์เทโลเมอเรสได้ดีมากขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
570751019 รัฐศักดิ์ สุ่มมาตย์.pdf | 3.52 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.