Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorClin. Prof. Virush Patanaporn-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Chaiy Rungsiyakul-
dc.contributor.authorVanichaya Tangsumroengvongen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:34:09Z-
dc.date.available2020-08-10T01:34:09Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69464-
dc.description.abstractObjectives: To evaluate the von Mises stress distribution in the periodontal ligament and the displacement pattern of maxillary whole arch distalization applied to retraction hooks of different lengths with miniscrew anchorage and to determine the optimal length of retraction hook, using the finite element method. Methods: A finite element model of maxillary teeth with periodontal ligament and alveolar bone was constructed. The miniscrews were placed bilaterally 6 mm above the buccal cemento-enamel junction at the modified infrazygomatic crest site. The distalization force of 200g was applied to 0-, 2-, 4-, 6-, 8-mm length retraction hooks located between the lateral incisor and canine. The stress distribution in the periodontal ligament and the displacement of the teeth were analyzed. The optimal length of retraction hook for maximal distal movement of the maxillary whole arch along the occlusal plane was investigated. Results: The von Mises stress in the anterior teeth was greater than in the posterior teeth with all hook lengths. With the 0-mm and 2-mm lengths, the anterior teeth were extruded and tipped palatally; the posterior teeth were intruded and tipped distally. With the 4-mm length, all maxillary teeth were distalized along the occlusal plane with minimal movement in the vertical direction. The anterior teeth were slightly tipped labially; the posterior teeth were slightly tipped distally. With the 6-mm and 8-mm lengths, the anterior teeth were intruded and tipped labially; the posterior teeth were extruded and tipped distally. The optimal length in this study was found to be 4 mm. Conclusions: Different lengths of retraction hook resulted in different patterns of stress distribution in the PDL and in different patterns of displacement of the maxillary teeth in whole arch distalization. The optimal length of retraction hook was 4 mm for maximal distal movement of the maxillary whole arch along the occlusal plane.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectWhole arch distalizationen_US
dc.subjectEn masse distalizationen_US
dc.subjectfinite elementen_US
dc.subjectretraction hooken_US
dc.titleRetraction Hooks of Different Lengths for Maxillary Whole Arch Distalization with Miniscrew Anchorage : A Finite Element Analysisen_US
dc.title.alternativeการใช้ตะขอดึงรั้งที่มีความยาวแตกต่างกันในการเคลื่อนฟันทุกซี่ในขากรรไกรบนไปทางด้านไกลกลางโดยใช้หลักยึดหมุดฝังในกระดูก:วิเคราะห์ด้วยวิธีไฟไนเอลิเมนต์en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินการกระจายความเค้นแบบวอนมิสเซสในเอ็นยึดปริทันต์และการเคลื่อนที่ของฟันทุกซี่ในขากรรไกรบนไปทางด้านไกลกลางโดยใช้ตะขอดึงรั้งที่มีความยาวแตกต่างกันร่วมกับหลักยึดหมุดฝังในกระดูก และเพื่อหาความยาวของตะขอดึงรั้งที่เหมาะสม วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ วิธีการ: สร้างแบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ของฟันบนทุกซี่ พร้อมทั้งเอ็นยึดปริทันต์ และกระดูกเบ้าฟัน โดยหลักยึดหมุดฝังในกระดูกถูกวางเหนือรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันที่ระดับ ๖ มิลลิเมตร บริเวณใต้ต่อกระดูกโหนกแก้มทั้งสองข้าง ให้แรงดึงไปทางด้านไกลกลางขนาด ๒๐๐ กรัม ไปยังตะขอดึงรั้งที่ความยาว ๐, ๒, ๔, ๖ และ ๘ มิลลิเมตร ซึ่งอยู่ระหว่างฟันตัดซี่ข้างและฟันเขี้ยว ทำการวิเคราะห์การกระจายความเค้นในเอ็นยึดปริทันต์และการเคลื่อนที่ของฟัน และหาความยาวของตะขอดึงรั้งที่เหมาะสมสำหรับการเคลื่อนฟันบนทุกซี่ไปทางด้านไกลกลางตามแนวระนาบการสบฟันมากที่สุด ผลการศึกษา: ในทุกความยาวของตะขอ ค่าความเค้นแบบวอนมิสเซสในฟันหน้ามากกว่าฟันหลัง ที่ความยาว ๐ และ ๒ มิลลิเมตรพบว่าฟันหน้ายื่นออกจากกระดูกเบ้าฟันและล้มเอียงไปทางด้านเพดานปาก ฟันหลังถูกดันเข้ากระดูกเบ้าฟันและล้มเอียงไปทางด้านไกลกลาง ที่ความยาว ๔ มิลลิเมตร พบว่าฟันบนทุกซี่เคลื่อนที่ไปทางด้านไกลกลางตามแนวการสบฟันและมีการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งปริมาณเล็กน้อย ฟันหน้าล้มเอียงไปทางด้านริมฝีปากเล็กน้อยและฟันหลังล้มเอียงไปทางด้านไกลกลางเล็กน้อย ที่ความสูง ๖ และ ๘ มิลลิเมตร ฟันหน้าถูกดันเข้ากระดูกเบ้าฟันและล้มเอียงไปทางด้านริมฝีปาก ฟันหลังถูกดันออกจากกระดูกเบ้าฟันและล้มเอียงไปทางด้านไกลกลาง ความยาวของตะขอดึงรั้งที่เหมาะสมในการศึกษานี้คือ ๔ มิลลิเมตร สรุปผล: การใช้ตะขอดึงรั้งที่มีความยาวแตกต่างกันในการเคลื่อนฟันทุกซี่ในขากรรไกรบนไปทางด้านไกลกลางส่งผลให้เกิดความแตกต่างของรูปแบบการกระจายความเค้นในเอ็นยึดปริทันต์ และเกิดความแตกต่างของรูปแบบการเคลื่อนที่ของฟันบน โดยความยาวที่เหมาะสมของตะขอดึงรั้งคือความยาว ๔ มิลลิเมตร ที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของฟันบนทุกซี่ไปทางด้านไกลกลางตามแนวระนาบการสบฟันมากที่สุดen_US
Appears in Collections:DENT: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.