Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ สกุลเสริมสุข-
dc.contributor.authorกิตติพงศ์ ปันธินวนen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:33:52Z-
dc.date.available2020-08-10T01:33:52Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69462-
dc.description.abstractAtomic magnetometer has been developed to have high sensitivity of 12 10 / z T H − or better, which is in the range of the magnetic signals from human organs, such as heart and brain. The ultimate goal of this project is to construct an atomic magnetometer based on rubidium vapour cell with sensitivity of 10 12T / Hz − . For this kind of magnetometer, the optical pumping of rubidium vapour is an important process for measuring magnetic fields. Therefore, we designed and constructed essential parts of the atomic magnetometer, including light source, Helmholtz coils, temperature controller and photodetector for optical pumping experiment. Each part was tested, and the results of its measured characteristics were showed and discussed. From our experiment set up, we attempted to determine the density of rubidium vapour as a function of temperature by measuring the intensity of linearly polarized light via rubidium vapour cell. The results showed the intensities of the transmitted laser decreased abruptly at 318K when the temperature increased by 2 K from room temperature to 323K, and increased at 314K when the temperature decreased from 323K to room temperature during naturally cooling down. We suggested that the suddenly changes of laser intensity strongly correlate with the melting point of rubidium at 312.45K. We believe that the progress achieved here pave the way to the success in the construction of atomic magnetometer.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างเครื่องวัดสนามแม่เหล็กเชิงอะตอมเพื่อการประยุกต์ ในทางชีวการแพทย์en_US
dc.title.alternativeConstruction of Atomic Magnetometer for Biomedical Applicationsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเครื่องวัดสนามแม่เหล็กเชิงอะตอมการถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนสามารถวัดสนามแม่เหล็กด้วย ความไว 12 10 / z T H − หรือดีกว่า ได้แล้วในปัจจุบัน เป้าหมายหลักของโครงงานวิจัยนี้คือการสร้าง เครื่องวัดสนามแม่เหล็กเชิงอะตอมที่มีความไวในการวัดระดับ 12 10 T / Hz − เพื่อใช้ในทางชีว การแพทย์ โดยเครื่องวัดสนามแม่เหล็กแบบนี้ จา เป็นอย่างยิ่งที่อะตอมรูบิเดียมจะถูกโพลาไรซ์ก่อน โดยกระบวนการปั๊มเชิงแสง ด้วยเหตุนี้โครงการนี้จึงเน้นการออกแบบและสร้างส่วนประกอบที่สาคัญ สาหรับการปั๊มเชิงแสงก่อน ได้แก่ แหล่งกาเนิดแสง ขดลวดเฮล์มโฮลทซ์ เครื่องควบคุมอุณหภูมิ สาหรับเซลล์รูบิเดียม และตัววัดแสง ซึ่งจะมีการทดสอบและวิเคราะห์ผลที่ได้สาหรับแต่ละ องค์ประกอบ ทั้งนี้ ผู้วิจัยได้มุ่งที่จะหาค่าความหนาแน่นของแก๊สรูบิเดียมในเซลล์ในแต่ละค่าอุณหภูมิ โดยการวัดค่าความเข้มแสงโพลาไรซ์ที่ทะลุผ่านเซลล์รูบิเดียม ผลลัพธ์ที่ได้ชี้ให้เห็นว่าความเข้มแสงมี ค่าลดลงอย่างฉับพลันที่อุณหภูมิ 318K เมื่อทาการให้ความร้อนกับเซลล์จากอุณหภูมิห้องไปจนถึง 323K และความเข้มแสงมีค่าเพิ่มขึ้นที่อุณหภูมิ 314K เมื่อทา การลดอุณหภูมิลงไปยังอุณหภูมิห้อง ผู้วิจัยเสนอว่าการเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสงที่วัดได้มีความเกี่ยวข้องกับค่าจุดหลอมเหลวของ รูบิเดียม ซึ่งมีค่า 312.45K โดยสรุปแล้วความก้าวหน้าในงานวิจัยในโครงการนี้จะมีส่วนช่วยทา ให้ เป้าหมายที่ตั้งไว้ในการสร้างเครื่องวัดสนามแม่เหล็กเชิงอะตอมสา หรับการไปประยุกต์ทางการแพทย์ ได้สาเร็จen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531092 กิตติพงศ์ ปันธินวน.pdf10.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.