Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69455
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.authorวรากร ศิริสิทธิ์en_US
dc.date.accessioned2020-08-08T03:01:23Z-
dc.date.available2020-08-08T03:01:23Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69455-
dc.description.abstractThis research was aimed to study the effects of scenario-based learning management on the problem solving ability and media literacy for grade 6 students. The objectives of this research were: 1) to create and evaluate the lesson plans by using the scenario-based learning to develop the problem solving ability and media literacy of students in the social study subject, 2) to compare their ability to solve problems by using the scenario-based learning during the pretest and posttest, 3) to compare the students’ media literacy by using the scenario-based learning during the pretest and posttest, and 4) to examine the satisfaction of students. The population was 29 students in grade 6, during the second semester in the academic year 2019 of Ban Sansaikongnoi School, Fang District, Chiang Mai province. The research instruments used in collecting the data were lesson plan assessment forms, problem-solving ability test, media literacy scale, and the satisfaction questionnaire. The data was analyzed by using means, standard deviations, percentages, and gain scores. The results showed that: 1. 7 lesson plans were created to teach the scenarios, with 3 hours of planning time per lesson plan. The first plan is about the landslide problem, the second plan is about the water pollution problem, the third plan is about the air pollution problem, the fourth plan is about the soil pollution problem, the fifth plan is about the problem of forest resource destruction, the sixth plan is about the forest fire problem, and the seventh plan is about flooding. The overall quality was at a very good level. 2. The problem-solving ability of students before studying was an average of 12.72 points. After learning, by using the scenario-based learning, the average score was 18.17 points. This was higher than before studying with gain score equal to 74.86 percent, which was at the high level of development. 3. Media literacy level of students before studying was an average of 3.02 points. After learning, by using the scenario-based learning, the average was 4.08 points, which is higher than before learning with the gain score equal to 53.53 percent, which was at the middle level of development. 4. Students' satisfaction with learning by using the scenario-based learning, given after the lessons, has an overall average value of 4.53 which was at the highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานที่มีต่อความสามารถ การแก้ปัญหาและการรู้เท่าทันสื่อ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffect of Scenario-based Learning Management on the Problem Solving Ability and Media Literacy for Grade 6 Studentsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัย เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานที่มีต่อความสามารถการแก้ปัญหาและการรู้เท่าทันสื่อ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและการรู้เท่าทันสื่อ ในรายวิชาสังคมศึกษา สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน 3) เพื่อเปรียบเทียบการรู้เท่าทันสื่อโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน และ 4) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจจากการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 29 คน ที่เรียนวิชา ส 16101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านสันทรายคองน้อย อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ ทาการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้แบบทดสอบความสามารถการแก้ปัญหาและแบบวัดระดับการรู้เท่าทันสื่อ และทาการวัดหลังการทดลองโดยใช้แบบวัดความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และร้อยละพัฒนาการ จ ผลการวิจัยพบว่า 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบฉากทัศน์เป็นฐานที่สร้างขึ้น มีทั้งหมด 7 แผน แผนละ 3 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนที่ 1 ปัญหาแผ่นดินถล่ม แผนที่ 2 รักษ์น้า รักษ์ชีวิต (ปัญหามลพิษทางน้า) แผนที่ 3 อากาศดี ชีวีมีสุข (ปัญหามลพิษทางอากาศ) แผนที่ 4 รักษ์ดิน ถิ่นไทย (ปัญหามลพิษทางดิน) แผนที่ 5 รักษ์ป่าไม้ รักษ์ชีวิต (ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ถูกทาลาย) แผนที่ ไฟมา ป่าหมด (ปัญหาไฟป่า) และแผนที่ 7 ปัญหาอุทกภัย (ปัญหาน้าท่วม) รวม 21 ชั่วโมง โดยภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 12.72 คะแนน และหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 18.17 คะแนน ซึ่งหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีร้อยละพัฒนาการ เท่ากับ 74.86 เป็นพัฒนาการระดับสูง 3. ระดับการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.02 คะแนน และหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.08 คะแนน ซึ่งหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีร้อยละพัฒนาการ เท่ากับ 53.53 เป็นพัฒนาการระดับกลาง 4. ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ หลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานมีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมเท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232028 วรากร ศิริสิทธิ์.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.