Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69450
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Nitida Adipattaranan-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Nanthiya Saengsin-
dc.contributor.advisorDr. Sunee Nguenyuang-
dc.contributor.authorKornkanok Sakulkanokwattanaen_US
dc.date.accessioned2020-08-08T02:30:02Z-
dc.date.available2020-08-08T02:30:02Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69450-
dc.description.abstractThis research aimed to develop an instructional model to enhance the critical reading ability of upper secondary school students based on the research and development practice. There were three research steps. Step 1 dealt with a survey on conditions and needs in obtaining enhancement in critical reading ability. Step 2 referred to instructional model development. Step 3 was relevant to a study on the results gained through utilizing the instructional model to enhance the critical reading ability of upper secondary school students via the developed model. The sample groups used as experimental groups for trying out the instructional model were three English teachers and 115 Grade-11 students in three high schools under the Office of the Private Education Commission in Chiang Mai and Chiang Rai regions in Academic Year 2019 (B.E. 2562). They were obtained via a cluster sampling method. The research tools consisted of (1) a questionnaire for surveying teachers’ conditions and needs, (2) an instructional model to enhance the critical reading ability, (3) a critical reading ability test, and (4) questionnaires on teachers’ and students’ satisfaction toward the operation of the instructional model enhancing the critical reading ability. The statistics used to analyze the data were mean scores, percentage, standard deviation, and t-test values.Research Findings (1) The overall mean score of current conditions of students’ critical reading was at a moderate level while that of the needs in enhancing students’ critical reading was at the highest level. (2) The developed instructional model consisted of five components that were (1) principles, (2) objectives, (3) learning processes consisting of five steps, i.e. preparation, presentation, reading ability processes, personal knowledge construction, and provision of feedback and learning assessment, (4) social systems, and (5) measurement and evaluation. The quality of the instructional model evaluated by the connoisseurs was at a high level. (3) The scores of the students taught via the instructional model enhancing the critical reading ability before and after utilizing the model were found different at a statistical significance level of 0.01. Both teachers and students were satisfied with the instructional management via the model at a high level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectan instructional modelen_US
dc.subjectcritical reading ability,en_US
dc.subjectupper secondary school studentsen_US
dc.titleDevelopment of an Instructional Model to Enhance the Critical Reading Ability in English of Upper Secondary School Studentsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้าน การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในวิชาภาษาอังกฤษสา หรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่าน อย่างมีวิจารณญาณในวิชาภาษาอังกฤษสา หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยใช้รูปแบบการ วิจัยและพัฒนา มีขั้นตอนการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและความต้องการที่จะ ได้รับการส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอน และขั้นตอนที่ 3 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริม ความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดลอง รูปแบบการเรียนการสอน ได้แก่ ครูวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จา นวน 3 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสา นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย ปีการศึกษา 2562 จานวน 3 โรงเรียน ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม รวม จานวนนักเรียน 115 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสอบถามครูเพื่อสารวจสภาพและ ความต้องการ (2) รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ (3) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ และ (4) แบบสอบถามความพึง พอใจของครูและนักเรียนต่อการเรียนการสอนด้วยรูปแบบการสอนอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัย (1) สภาพปัจจุบันของการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการที่จะได้รับการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด (2) รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการ (2) วัตถุประสงค์ (3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ การเตรียมพร้อม การ นา เสนอเนื้อหาในบทเรียน การทา กิจกรรมการอ่าน การสร้างความรู้ด้วยตนเอง และการให้ข้อมูล ย้อนกลับและประเมินผลการเรียนรู้ (4) ระบบสังคม และ (5) การวัดและประเมินผล ผลการประเมิน คุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอนจากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับมาก (3) นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านอย่าง มีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ครูและ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580252015 กรกนก กุลกนกวัฒนา.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.