Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69448
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr. Veerasak Punyapornwithaya-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr. Kannika Na Lampang-
dc.contributor.advisorLect.Dr. Warangkhana Chaisowwong-
dc.contributor.authorNurhayatien_US
dc.date.accessioned2020-08-08T02:29:51Z-
dc.date.available2020-08-08T02:29:51Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69448-
dc.description.abstractThe following extensive H5N1 outbreaks in poultry in Indonesia, interest increased in identifying influenza A virus subtypes circulating amongst local pig productions. Pigs have been traditionally proposed as a “mixing vessel” where reassortant influenza strains can arise. Swine influenza (SI) infection has major economic impact on pig farming and is a zoonotic virus of public concern. Consider with the risk of swine influenza virus (SIV) infection, we conducted a study to determine prevalence in the farm, collector and slaughterhouse, and risk factors in the farm in West Java, Banten and Jakarta provinces. Data consisted of SIV status at pig farms (n=175), collectors (n=11) and slaughterhouses (n=34), based on serological test and farm data from questionnaire collected during national surveillance program. The association between risk factors and the SIV status in the farm level was determined using univariable and multivariable logistic regressions. The results showed that seroprevalence at farm 30.85% (95%CI: 24.48-38.05), collector 18.18% (95%Cl: 5.13-47.69) and slaughterhouse 35.29% (95%Cl: 21.48-52.08). The risk of farms detected SIV seropositive increased when: farmers have other animals in the farm (Odds ratio (OR) = 2.78; 95% CI: 1.21-6.38); holding pig less than two years (OR = 3.64; 95%Cl: 1.25-10.58); distance to poultry farm less than one km (OR = 2.42; 95%Cl: 1.11-5.24) and farmers who bought pig only from collectors had the highest risk for SIV seropositivity (OR = 9.03; 95%Cl: 3.62-22.52). This study highlights that targeting surveillance in high density of pig and poultry population area could enhance the number of farm detected for SIV.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectSwine influenza virusen_US
dc.subjectseroprevalenceen_US
dc.subjectrisk factorsen_US
dc.subjectpigen_US
dc.subjectIndonesiaen_US
dc.titlePrevalence and Risk Factors of Swine Influenza Virus in Pig Farms, in West Java, Banten and Jakarta during 2016-2017en_US
dc.title.alternativeความชุกและปัจจัยเสี่ยงของเชื้อไวรัสโรคไข้หวัดใหญ่สุกรในฟาร์มสุกรใน ชวาตะวันตก บันเทน และจาการ์ตา ในช่วงปี ค.ศ. 2016-2017en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการระบาดของ H5N1 อย่างกว้างขวางในสัตว์ปีกในอินโดนีเซียกระตุ้นให้มีความสนใจเพิ่มขึ้นในการศึกษาเกี่ยวกับไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เอที่อยู่ในการผลิตสุกรในชุมชน ซึ่งสุกรถือว่าเป็น "เรือผสม" ที่สามารถแพร่เชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ได้ การติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สุกรมีผลกระทบทางเศรษฐกิจอย่างมากต่อการเลี้ยงสุกรและยังถือเป็นโรคสัตว์สู่คนที่สาคัญทางสาธารณสุขด้วย เนื่องมาจากความเสี่ยงของการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สุกรจึงทาการศึกษาเพื่อหาความชุกของการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สุกรในฟาร์ม, สุกรจากพ่อค้าที่จับมาจากฟาร์มรายย่อย และสุกรที่โรงฆ่าสัตว์ รวมถึงศึกษาปัจจัยเสี่ยงในฟาร์มสุกรในจังหวัดชวาตะวันตก, บันเทน และจาการ์ตา ข้อมูลประกอบด้วยสถานะการเป็นโรคไข้หวัดใหญ่สุกรที่ฟาร์มสุกร (n = 175), พ่อค้าจับสุกรตามฟาร์มรายย่อย (n = 11) และโรงฆ่าสัตว์ (n=34) ทาการทดสอบทางซีรัมวิทยาและเก็บข้อมูลจากโครงการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่สุกรแห่งชาติ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงและสถานะการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สุกรในระดับฟาร์มด้วยวิธี univariable and multivariable logistic regressions ผลการศึกษาพบว่าความชุกทางซีรัมของโรคไข้หวัดใหญ่สุกรที่ฟาร์มสุกรมีค่าเท่ากับ 30.85% (95%CI: 24.48-38.05), สุกรจากพ่อค้าที่จับมาจากฟาร์มรายย่อย 18.18% (95%Cl: 5.13-47.69) และโรงฆ่าสัตว์ 35.29% (95%Cl: 21.48-52.08) ปัจจัยเสี่ยงของฟาร์มสุกรที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สุกรเพิ่มขึ้นเมื่อ: เกษตรกรมีสัตว์อื่น ๆภายในฟาร์ม (Odds ratio (OR) = 2.78; 95% CI: 1.21-6.38); เลี้ยงสุกรน้อยกว่าสองปี (OR = 3.64; 95% Cl: 1.25-10.58); ระยะทางไปยังฟาร์มสัตว์ปีกน้อยกว่าหนึ่งกิโลเมตร (OR = 2.42; 95% Cl: 1.11-5.24) และเกษตรกรที่ซื้อสุกรจากพ่อค้าจับสุกรตามฟาร์มรายย่อยนั้นมีความเสี่ยงสูงสุดทาให้ฟาร์มติดชื้อไข้หวัดใหญ่สุกร (OR = 9.03.72; 95% Cl: 3.62-22.5) การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่ากาหนดเป้าหมายการเฝ้าระวังในพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นของสุกรและสัตว์ปีกสามารถเพิ่มจานวนฟาร์มที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่สุกรได้en_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601435801 Nurhayati.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.