Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ-
dc.contributor.advisorนิยดา ทิตาราม-
dc.contributor.advisorกรรณิการ์ ณ ลำปาง-
dc.contributor.authorปราณิศา มหัตนิรันดร์กุลen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T04:28:48Z-
dc.date.available2020-08-07T04:28:48Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69416-
dc.description.abstractAcupuncture is one of the Traditional Chinese Medicine treatment technique commonly used in practice, especially for pain control. This study compared the postoperative analgesics effects between electroacupuncture and tramadol HCl in dogs subjected to ovariohysterectomy. Twelve female mixed-breed dogs subjected to ovariohysteractomy were used in this study. The dogs were divided into 2 groups. 1.) Acupuncture group (n=6), the dogs were treated with low frequency 2 Hz electroacupuncture at acupoints Stomach 36 (ST-36) and Large Intestine 4 (LI-4) before an initiation of the surgery. Stimulation of acupoints Governing Vessel 20 (GV-20) was performed by manual twitching every 10 minutes. 2.) Medicine group (n=6), the dogs were treated with subcutaneous injection of tramadol HCl at the dosage of 4 mg/kg before surgery. Data of the vital signs, sedation score, cumulative pain score, and skin pressure threshold measuring with algometer were evaluated at pre-operation and 1, 3, 6, 12, and 24 hours post-operation. The comparison between both groups indicated that sedation score of medicine group was significantly (p≤0.05) higher than acupuncture group at 1 hours post-operative. The results also indicated that there were no statistically difference in vital signs, cumulative pain score, and percentage change of skin pressure threshold within 24 hours post-operation between these two groups. The percentage change of pressure threshold at 24 hours post-operation of acupuncture group and medicine group was 31.67% and 40.71%, respectively. According to the results of this study, preoperative treatment with electroacupuncture and tramadol HCl for the dogs subjected to ovariohysterectomy produced similar postoperative analgesics effects during the first 24 hours after the surgery.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการระงับปวดหลังผ่าตัดen_US
dc.subjectการฝังเข็มแบบกระตุ้นไฟฟ้าen_US
dc.subjectทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์en_US
dc.subjectศัลยกรรมen_US
dc.subjectทำหมันen_US
dc.subjectสุนัขen_US
dc.titleการเปรียบเทียบผลการระงับปวดหลังผ่าตัดระหว่างวิธีการฝังเข็มแบบกระตุ้นไฟฟ้า และทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์ในสุนัขภายหลังการศัลยกรรมทำหมันเพศเมียen_US
dc.title.alternativeA Comparison of post operative analgesics between electroacupncture and tramadol HCl in dogs With ovariohysterectomyen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc636.7-
thailis.controlvocab.thashสุนัข -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashศัลยกรรม-
thailis.manuscript.callnumberว 636.7 ป172ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการฝังเข็มเป็นวิธีการรักษาโรคตามหลักการของศาสตร์การแพทย์แผนจีนวิธีหนึ่งที่มีการนำ มาใช้มากที่สุด โดยเฉพาะเพื่อการควบคุมความเจ็บปวด การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลการระงับปวดหลังการศัลยกรรมระหว่างการฝังเข็มแบบกระตุ้นไฟฟ้าและการใช้ยา ทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์ในสุนัข โดยศึกษาในสุนัขเพศเมียพันธุ์ผสม จำนวน 12 ตัว ที่มาเข้ารับการศัลยกรรมทำหมัน แบ่งตัวอย่างสุนัขออกเป็น 2 กลุ่ม 1.) กลุ่มฝังเข็ม (n=6) ทำการฝังเข็มแบบกระตุ้นไฟฟ้าความถี่ต่ำ 2 Hz ก่อนการศัลยกรรมที่จุดฝังเข็ม Stomach 36 (ST-36) และ Large Intestine 4 (LI-4) สำหรับ Governing Vessel 20 (GV-20) ทำการกระตุ้นด้วยการหมุนเข็มด้วยมือทุกๆ 10 นาที 2.) กลุ่มยา (n=6) สุนัขได้รับยาลดปวดทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์ ขนาด 4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ทางใต้ผิวหนังก่อนการศัลยกรรม ทำการวัดระดับสัญญาณชีพ ประเมินระดับความซึม ประเมินระดับความเจ็บปวดหลังการศัลยกรรมด้วยแบบประเมินความเจ็บปวด และวัดความทนต่อแรงกดด้วยเครื่องวัดแรงกด โดยทำการประเมินก่อนการศัลยกรรมและที่เวลา 1, 3, 6, 12 และ 24 ชั่วโมงหลังการศัลยกรรม เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสองกลุ่ม พบว่ากลุ่มยามีระดับความซึมในชั่วโมงที่ 1 หลังการ ศัลยกรรมสูงกว่ากลุ่มฝังเข็มอย่างมีนัยสำคัญ (p≤0.05) ในขณะที่ระดับสัญญาณชีพ ระดับความ เจ็บปวด และร้อยละการเปลี่ยนแปลงของแรงกดเฉลี่ยในเวลา 24 ชั่วโมงแรกหลังการศัลยกรรมไม่มี ความแตกต่างกัน โดยพบว่าที่ 24 ชั่วโมงหลังศัลยกรรม ค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลงแรงกดของกลุ่มฝังเข็ม และกลุ่มยาลดลงจากก่อนศัลยกรรม 31.67% และ 40.71% ตามลำดับ จากผลการศึกษาสรุปได้ว่าในช่วง 24 ชั่วโมงแรกหลังการศัลยกรรม การฝังเข็มแบบกระตุ้นไฟฟ้าให้ผลบรรเทาปวดหลังการศัลยกรรมได้เหมือนกับการใช้ยาทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์en_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.