Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69398
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dr. Natthakarn Chiranthanut | - |
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Ampai Panthong | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Parirat Khonsung | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Puongtip Kunanusorn | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Ariyapong Wongnoppavich | - |
dc.contributor.author | Paweenuch Nuntawirach | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-07T01:04:23Z | - |
dc.date.available | 2020-08-07T01:04:23Z | - |
dc.date.issued | 2014-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69398 | - |
dc.description.abstract | In Thai traditional medicine, Coscinium fenestratum is a herb that has been claimed to reduce hypertension and blood glucose in diabetes mellitus patients. In worldwide, C. fenestratum is claimed to treat and palliate many disorders such as inflammation, fever, and skin disease. Thus, the aim of this research was to determine the in vitro and in vivo anti-inflammatory, analgesic, and antipyretic properties of aqueous extract of C. fenestratum. From in vitro anti-inflammatory study, CF extract significantly reduced NO production while it did not harm availability of macrophage RAW 264.7 cell line. From in vivo study, the dose 1,000 mg/kg of CF extract showed the significant effect that was similar to that of diclofenac, a standard drug, to reduce paw edema in carrageenan-induced paw edema in rats. Yet, CF extract did not show any significant effect on arachidonic acid-induced paw edema model. In chronic inflammatory study, CF extract neither reduced granuloma formation and transudation nor affected the thymus weight, the body weight gain and the increase of alkaline phosphatase activity whereas prednisolone demonstrated marked reduction of all those parameters. Diclofenac showed significant reduction of transudative phase, granuloma formation, and alkaline phosphatase activity. In algesic models, CF extract demonstrated significant analgesia on writhing response in mice and tail flick test in rats. Furthermore, CF extract significantly reduced hyperthermia in antipyretic model. All of these results indicate that CF extract possesses anti-inflammatory, analgesic and antipyretic activities, which probably due to inhibiting the release of various inflammatory mediators such as NO, cytokines, and PGs. Therefore, it has a potential to be used as an alternative choice to relieve inflammation, pain, and fever. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Anti-inflammatory, Analgesic, and Antipyretic Activities of Water Extract from Coscinium fenestratum (Gaertn.) Colebr. | en_US |
dc.title.alternative | ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ของสารสกัดน้ำจากแห้ม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในการแพทย์แผนไทย แห้มถือเป็นสมุนไพรที่มีการกล่าวอ้างถึงสรรพคุณในการช่วยลดความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในระดับสากล แห้มเป็นสมุนไพรที่ใช้ในการรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคต่างๆ เช่น การอักเสบ ไข้ และโรคผิวหนัง ดังนั้นวัตถุประสงค์ในการศึกษานี้ คือ การประเมินฤทธิ์ต้านการอักเสบ ลดปวด และลดไข้ของสารสกัดน้ำจากแห้ม จากการศึกษานอกร่างกาย พบว่า สารสกัดแห้มสามารถลดการสร้างไนตริกออกไซด์ได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยไม่ทำลายเซลล์แมคโครฟาจ RAW 264.7 จากการศึกษาในร่างกาย พบว่า ขนาดสารสกัดแห้ม 1,000 มิลิกรัม/กิโลกรัม สามารถยับยั้งการบวมของเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยคาราจีนินอย่างมีนัยสำคัญได้เช่นเดียวกับไดโคลฟีแนคที่เป็นยามาตรฐาน แต่ไม่สามารถลดการบวมของเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยกรดอะราคิโดนิก ในการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบแบบเรื้อรัง พบว่า สารสกัดแห้มไม่สามารถยับยั้งการเกิดแกรนูโลมาและทรานซูเดท รวมทั้งไม่มีผลต่อน้ำหนักไทมัส น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น และระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเทสในซีรั่มที่สูงขึ้น ในขณะที่เพรดนิโซโลนมีผลลดตัววัดทั้งหมดในแบบจำลองการฝังก้อนสำลีในหนูขาวอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนไดโคลฟีแนคแสดงเพียงผลลดทรานซูเดทและระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเทสในซีรั่มอย่างมีนัยสำคัญ ในแบบจำลองระงับปวด สารสกัดแห้มแสดงฤทธิ์ระงับปวดทั้งแบบจำลองที่ทำให้เกิดการเจ็บปวดโดยการฉีดกรดอะซีติกเข้าทางช่องท้องของหนูถีบจักร และแบบจำลองการสะบัดหางหนีจากความร้อนของหนูขาวได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ สารสกัดแห้มยังมีฤทธิ์ลดไข้ ในแบบจำลองที่ใช้ยีสต์กระตุ้นให้เกิดไข้ในหนูขาว จากผลการศึกษาทั้งหมดนี้จึงสรุปได้ว่าสารสกัดแห้มมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวดและลดไข้ ซึ่งคาดว่าฤทธิ์เหล่านี้อาจเกิดจากการยับยั้งหรือมีผลต่อการหลั่งสารสื่ออักเสบต่างๆ เช่น ไนตริกออกไซด์ ไซโตคายน์ และพรอสตาแกรนดิน ดังนั้นสารสกัดแห้มจึงมีศักยภาพที่จะใช้เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับบรรเทาการอักเสบ ลดปวด และลดไข้ได้ | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.