Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr. Kiattikhun Manokruang-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Winita Punyodom-
dc.contributor.authorSunan Tachaen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:03:27Z-
dc.date.available2020-08-07T01:03:27Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69389-
dc.description.abstractStereocomplexed polylactide (Sc-PL) is known to demonstrate good heat distortion due to its relatively high melting temperature. However, its brittle characteristic has been a major drawback of Sc-PL, which limits its use to certain applications. This project is aimed to improve the toughness of Sc-PL. So, poly(D-lactide) (PDL) and PDL-poly(ethylene glycol)-PDL (PDL-PEG-PDL) copolymers (PEG molecular weight 8,000) were synthesized by ring-opening polymerization using stannous octoate as an initiator. Each of the synthesized PDL homopolymer and PDL-PEG-PDL copolymers were blended with a commercially available poly(L-lactide) (PLL) to prepare stereocomplexedpolylactide (Sc-PL). Blending methods included solution-blending and melt-blending, by which final Sc-PL specimens were achieved as Sc-PL films and Sc-PL sheets, respectively. The Sc-PL sheets were further proceeded to make tray packaging by thermoforming method. The DSC thermograms of the Sc-PL films showed that completed Sc-crystallites were formed when at least 40% copolymers were blended in the films. Sc-crystallinity increased with increasing PDL block length in the copolymer. AFM phase imaged showed that the size of Sc-crystallites was increased with increasing PDL block length in the copolymer, which showed a great effect on enhancing stress at break of the Sc-PL films. In addition, elongation at break of the Sc-PL films showed good correlation with percentage amorphous area determined by AFM phase analysis. So, the morphology-property relationship of the Sc-PL films was established, which showed that the toughness of the Sc-PL films was greatly influenced by the balance between the Sc-crytalline size and the percentage amorphous area of the system. For melt blending, Sc-PL sheets from PLL and copolymer were successfully prepared in certain compositions and the thermoformed tray was only achieved for 90/10 wt% of PLL/copolymer Sc-PL sheet. Toughness of the PLL/copolymer Sc-PL sheet, measured by impact testing method, was found to be slightly higher than that of the commercial PLL sheet. Mechanical properties of Sc-PL after being microwave-heated were also examined. The result indicated that the PLL/PDL-PEG-PDL Sc-PL film can be used in a microwave oven that operates with the power up to 600 Watts. On the other hand, a deformation of the whole shape was observed for the tray prepared from the commercial PLL sheet. Also, the tray packaging prepared from PLL/copolymer blended sheet showed that the try started to melt from the bottom.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleToughness Enhancement of Stereocomplexed Polylactide for Use as Microwavable Packaging Materialsen_US
dc.title.alternativeการเพิ่มความเหนียวของสเตอริโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์เพื่อใช้เป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ใช้งานได้กับไมโครเวฟen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเป็นที่ทราบกันดีว่าสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์มีช่วงอุณหภูมิต่อการคงรูปได้ดี เนื่องจากมีอุณหภูมิการหลอมสูง อย่างไรก็ตามความเปราะเป็นข้อเสียหลักของสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์ซึ่งทำให้เกิดข้อจำกัดในการนำไปใช้งาน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงความเหนียวของสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์ จึงได้ทำการสังเคราะห์พอลิ(ดี-แลกไทด์) (PDL) และพอลิ(ดี-แลกไทด์)-พอลิ(เอทิลีนไกลคอล)-พอลิ(ดี-แลกไทด์) (PDL-PEG-PDL)โคพอลิเมอร์ เมื่อพอลิเอธีลีนไกลคอลมีน้ำหนักโมเลกุล 8,000 โดยการพอลิเมอไรเซซันแบบเปิดวงของแลกไทด์และใช้ตัวริเริ่มปฏิกิริยาคือสแตนนัสออกโทเอท PDLโฮโมพอลิเมอร์และ PDL-PEG-PDLโคพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ขึ้นจะถูกนำไปผสมกับพอลิ(แอล-แลกไทด์) (PLL) เชิงพาณิชย์เพื่อเตรียมสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์ วิธีการผสมประกอบไปด้วยวิธีการผสมแบบใช้สารละลายและการผสมแบบใช้ความร้อนซึ่งจะให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้คือแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์และแผ่นชีทสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์ตามลำดับ แผ่นชีทสเตอรีโอคอมเพล็กซ์จะนำไปขึ้นรูปต่อไปเป็นบรรจุภัณฑ์แบบถาดโดยวิธีการเทอร์โมฟร์อมมิ่ง DSC เทอร์โมแกรมของแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์แสดงให้เห็นการเกิดผลึกของสเตอรีโอคอมเพล็กซ์แบบสมบูรณ์เมื่อเติมโคพอลิเมอร์อย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ในการผสมแบบใช้สารละลายปริมาณผลึกของสเตอรีโอคอมเพล็กซ์จะสามรถทำให้เพิ่มขึ้นได้โดยการเพิ่มความยาวบล็อกของ PDLในโคพอลิเมอร์ ภาพถ่าย AFMแสดงให้เห็นว่าขนาดของผลึกสเตอรีโอคอมเพล็กซ์เพิ่มขึ้นโดยการเพิ่มความยาวบล็อก PDLในโคพอลิเมอร์ซึ่งส่งผลอย่างมากในการเพิ่มค่าแรงดึงที่จุดขาดของแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์ นอกจากนี้จากการวิเคราะห์โดยภาพถ่ายAFM แสดงให้เห็นว่าการยืดตัวของแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์แปรผันกับพื้นที่อสัณฐาน ความสัมพันธ์ของสัณฐานวิทยาและสมบัติของแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์ที่เกิดขึ้นพิสูจน์ให้เห็นว่าความเหนียวของแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์มีอิทธิพลมาจากสมดุลระหว่างขนาดของผลึกสเตอรีโอคอมเพล็กซ์และร้อยละของพื้นที่อสัณฐานของระบบ สำหรับการผสมแบบใช้ความร้อนแผ่นชีทสามารถถูกเตรียมได้จากการผสมPLLและโคพอลิเมอร์ในบางองค์ประกอบเท่านั้นและการนำไปขึ้นรูปเป็นถาดสามารถทำได้เพียงอัตราส่วนเดียวคือ 90/10 เปอร์เซนต์โดยน้ำหนักของ PLL/โคพอลิเมอร์ เมื่อวัดความเหนียวโดยวิธีการทดสอบแบบกระแทกบนแผ่นชีทสเตอรีโอคอมเพล็กซ์ของ PLL/โคพอลิเมอร์พบว่ามีค่าสูงกว่าของแผ่นชีท PLLเชิงพาณิชย์เล็กน้อย สำหรับการวัดค่าสมบัติเชิงกลของสเตอรีโอคอมเพล็กซ์พอลิแลกไทด์หลังจากการทดสอบโดยไมโครเวฟ พบว่าแผ่นฟิล์มสเตอรีโอคอมเพล็กซ์ PLL/โคพอลิเมอร์สามารถนำไปใช้ในเตาไมโครเวฟที่ทำงานด้วยกำลังได้ถึง 600 วัตต์ ในทางกลับกันถาดที่เตรียมขึ้นจากแผ่นชีท PLLเชิงพาณิชย์เกิดการเสียรูปทั้งหมด นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์แบบถาดที่เตรียมจากแผ่นชีทของ PLL/โคพอลิเมอร์เริ่มเกิดการหลอมจากด้านล่างของถาดen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.