Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr. Phumon Sookwong-
dc.contributor.authorSakon Monggooten_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:02:45Z-
dc.date.available2020-08-07T01:02:45Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69383-
dc.description.abstractThai Hom Mali rice (Thai fragrant rice) is one of the most important exported products of Thailand. 2-Acetyl-1-pyrroline (2AP) is the key odorant as a quality indicator of Thai Hom Mali rice. The quality of Thai Hom Mali rice is depended on cultivation, post-harvest management, climate and soil quality. Therefore, this study was emphasized on nutrient management for enhancing 2AP production in Thai Hom Mali rice. Experimentation included single nutrient element treatments in which nitrogen (N), phosphorous (P), calcium (Ca), zinc (Zn), Manganese (Mn) or Magnesium (Mg) was invidually studied at 2, 4 and 8-fold from its standard concentration, and nutrient element formula treatments which were designed with central composite design (CCD). The rice was cultivated in hydroponic system by using Hoagland (1938) standard nutrient solution. 2AP content was analyzed with gas chromatography-nitrogen phosphorous detector (GC/NPD). Considering Pathum Thani 1 crop, it was found that adding extra amount of any single element could negatively affect on production of 2AP. However, among the single element treatments, it was obvious that P could have positive influence on 2AP production, and that N showed negative response in production of 2AP greater than Ca, Mn and Mg. The nutrient element formulas with high P were likely to have positive effect on 2AP production. The most effective formulas on 2AP production are formulas number 12 (low Ca and N, and high P, Zn, Mn and Mg) and 13 (low N, Zn, Mn and Mg and high P and Ca). For Khao Dawk Mali 105 crop, it was found that all single nutrient element additions could result in increasing amount of 2AP, compared with the controls. 2AP content in the control was 1.42 and 1.22 ppm, and 2AP in rice treated with 2, 4 and 8-fold of P were 16.68, 7.70 and 3.12 ppm, respectively. From the experiment, the concentration of nutrient element at 2-fold affected 2AP production more than the other concentration levels (4 and 8-fold). It appeared likely than N was to have negative effect, but P, Ca, Mn, Mg and Zn were to have positive effect on 2AP production. However, the concentration level of P was positively correlated with Ca, Mn, Mg and Zn in enhancing effect of 2AP production. The good management of nutrient element is important and needed for enhancing of Thai Hom Mali rice’s quality. This research would be a part of solution for improving and sustaining aroma quality of Thai Hom Mali rice.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEffects of Some Nutrient Elements on 2-Acetyl-1-pyrroline Production in Thai Hom Mali Rice Grown Under Hydroponic Systemen_US
dc.title.alternativeผลของธาตุอาหารบางชนิดต่อการสร้างสาร 2-อะเซทิล-1-พิวโรลีนในข้าวหอมมะลิไทยที่ปลูกภายใต้ระบบไฮโดรพอนิกส์en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractข้าวหอมมะลิไทยเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของประเทศไทย 2-อะเซทิล-1-พิวโรลีน (2AP) เป็นสารหอมหลักที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพข้ามหอมมะลิไทย คุณภาพของข้าวหอมมะลิไทยขึ้นอยู่กับการเพาะปลูก การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว สภาพภูมิอากาศและคุณภาพของดิน ดังนั้นงานวิจัยนี้เน้นการศึกษาการจัดการแร่ธาตุอาหารในดินเพื่อเสริมสร้างการสร้างสาร 2AP ในข้าวหอมมะลิไทย ในการทดลองมีการศึกษาธาตุเดี่ยว คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) แคลเซียม (Ca) สังกะสี (Zn) แมงกานีส (Mn) และ แมกนีเซียม (Mg) ซึ่งทำการศึกษาที่ความเข้มข้น 2 4 และ 8เท่าจากความเข้มข้นมาตรฐาน และมีการทดลองด้วยสูตรแร่ธาตุอาหารซึ่งออกแบบโดย การออกแบบพื้นผิวผลตอบ (CCD) ข้าวจะถูกปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ โดยใช้สารละลายอาหารมาตรฐานของ Hoagland (1938) สาร 2AP จะถูกวิเคราะห์โดยแก๊สโครมาโทกราฟี-ไนโตรเจนฟอสฟอรัสดีเทคเตอร์ ในการทดลองชุดข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 พบว่าการเพิ่มความเข้มข้นของธาตุทุกชนิดมีผลเชิงลบต่อการสร้างสาร 2AP โดยธาตุ P มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการสร้างสาร 2AP มากที่สุดและ N มีผลเชิงลบต่อการสร้างสาร 2AP มากกว่าการธาตุ Ca Mn และ Mg และสูตรธาตุอาหารที่ประกอบด้วยธาตุ P (สูง) มีผลเชิงบวกต่อการสร้างสาร 2AP ซึ่งสูตรธาตุอาหารที่มีผลต่อการสร้างสาร 2AP มากที่สุด คือสูตรที่ 12 (ประกอบไปด้วย Ca (ต่ำ) N (ต่ำ) P (สูง) Zn (สูง) Mn (สูง) และ Mg (สูง)) และสูตรที่ 13 (ประกอบไปด้วย N (ต่ำ) Zn (ต่ำ) Mn (ต่ำ) Mg (ต่ำ) P (สูง) และ Ca (สูง)) ในการทดลองชุดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 พบว่าการเพิ่มธาตุเดี่ยวมีผลทำให้ปริมาณสาร 2AP เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับชุดทดลองควบคุม โดยปริมาณสาร 2AP ในชุดควบคุมคือ 1.42 และ 1.22 ppm และปริมาณสาร 2AP ในข้าวที่ทำการเติม P 2 4 และ 8 เท่า คือ 16.68 7.70 และ 3.12 ppm ตามลำดับ จากการทดลอง การเพิ่มแร่ธาตุอาหารเป็น 2 เท่ามีผลต่อการสร้างสาร 2AP มากกว่าที่ความเข้มข้นระดับอื่น (4 และ 8 เท่า) การเพิ่มธาตุ N มีผลเชิงลบต่อการสร้างสาร 2AP และยังพบว่าพบว่าความเข้มข้นของธาตุ P มีความสัมพันธ์เชิงบงวกกับธาตุ Ca Mn Mg และ Zn ในการเสริมสร้างสาร 2AP การจัดการแร่ธาตุอาหารที่ดีมีความสำคัญและจำเป็นเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของข้าวหอมมะลิไทย งานวิจัยนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของคำตอบในการแก้ปัญหาและคุณภาพความหอมของข้าวหอมมะลิไทยen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.