Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69371
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อ.ดร. ชาติชาย ดวงสอาด | - |
dc.contributor.author | ธิสินี สุรพันธ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-07T01:01:31Z | - |
dc.date.available | 2020-08-07T01:01:31Z | - |
dc.date.issued | 2014-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69371 | - |
dc.description.abstract | This thesis proposes a transformation algorithm between two query mechanisms of Hibernate Framework: HQL and Criteria API. Hibernate Framework is well known framework for object-relational mapping which is widely used in the database application. In this thesis, the performance of the query mechanisms is investigated on the different environments, and the transformation algorithm is constructed to optimize the selected query method. The methods are tested on three different environments. The performance of the query mechanisms is measured by the execution time. The proficiency plays an important role in the overall efficiency of the system. Not only the transformation algorithm can reduce developers’ works and adapt to learn unfamiliarity method. Therefore, it is a tool for helping the collaboration work in a team when they have different skill. Moreover, the developers have to develop an application based on the legacy system. Therefore, the transformation algorithm is needed to convert HQL to Criteria API and vice versa. Six query types are supported by the algorithm: Simple Query, "and" Restriction Query, Paging Query, Unique Query, Order Query and Row count Query. A statement is converted to be a control flow graph for distinction the keywords which are different between HQL and Criteria API easily. The performance of the proposed algorithm is evaluated for correctness and completeness by the back-to-back testing. The test compares the output data between the prototype statement and the changed statement. The result of the testing indicates that the proposed method is able to convert the syntax commands from 100 percent. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ขั้นตอนวิธีการเปลี่ยนรูปแบบระหว่างวิธีเอชคิวแอลและ วิธีไคทีเรียเอพีไอของไฮเบอร์เนทเฟรมเวิร์ค | en_US |
dc.title.alternative | Transformation Algorithm Between HQL and Criteria API Methods of Hibernate Framework | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนออัลกอริทึมเพื่อเปลี่ยนรูปแบบชุดคำสั่งสำหรับการเรียกใช้ข้อมูลระหว่างวิธีเอชคิวแอลและวิธีไคทีเรียเอพีไอของไฮเบอร์เนทเฟรมเวิร์ค เนื่องจากไฮเบอร์เนทเฟรมเวิร์คเป็นเฟรมเวิร์คที่จับคู่ระหว่างอ็อบเจกต์และตารางฐานข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันจึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการพัฒนาแอพพลิเคชันที่ทำงานร่วมกับฐานข้อมูล โดยทดสอบประสิทธิภาพในการเรียกใช้ข้อมูลพบว่าแต่ละวิธีการเรียกใช้ข้อมูลมีความเหมาะสมและความเร็วในการทำงานบนสภาพแวดล้อมของแอพพลิเคชันที่แตกต่างกันตามที่กำหนดขึ้น 3 กรณีศึกษา จากนั้นจึงพัฒนาอัลกอริทึมเพื่อเปลี่ยนวิธีการเรียกใช้ข้อมูล ทั้งนี้การวัดประสิทธิภาพของการเรียกใช้ข้อมูลประเมินจากเวลาในการเรียกใช้ข้อมูลของแอพพลิเคชัน อัลกอริทึมเพื่อเปลี่ยนรูปแบบชุดคำสั่งนั้นสามารถช่วยให้ผู้พัฒนาปรับรูปแบบการทำงานของโปรแกรมได้สะดวกขึ้นเพื่อให้แอพพลิเคชันสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีมเมื่อผู้พัฒนามีความสามารถที่ไม่เหมือนกัน ในงานวิจัยนี้นำเสนอการเปลี่ยนแปลงชุดคำสั่งที่รองรับเงื่อนไขชุดคำสั่ง 6 รูปแบบคือการเรียกใช้ข้อมูลทั้งหมดแบบไม่มีเงื่อนไข, การเรียกใช้ข้อมูลแบบมีเงื่อนไข “และ”, การเรียกใช้ข้อมูลแบบแสดงผลเป็นหน้า, การเรียกใช้ข้อมูลแบบหนึ่งเดียว, การเรียกใช้ข้อมูลแบบเรียงลำดับ และการเรียกใช้ข้อมูลแบบนับจำนวนแถวได้ โดยลักษณะการทำงานของอัลกอริทึมจะเปลี่ยนชุดคำสั่งให้อยู่ในรูปแบบของกราฟขั้นตอนการทำงานเพื่อสังเกตและเปลี่ยนค่าข้อมูลที่แตกต่างกันของแต่ละวิธีได้ง่ายยิ่งขึ้น จากนั้นจึงตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ได้จากการเปลี่ยนชุดคำสั่งด้วยวิธีการตรวจสอบย้อนกลับ โดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ของข้อมูลที่ถูกเรียกใช้ของชุดคำสั่งก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง ซึ่งผลของการตรวจสอบของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบชุดคำสั่งพบว่าข้อมูลที่เรียกใช้ความถูกต้องและครบถ้วนคิดเป็น 100 เปอร์เซนต์ | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 14.62 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.