Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.ประเสริฐ ไชยทิพย์-
dc.contributor.advisorรศ.ดร.กาญจนา โชคถาวร-
dc.contributor.authorปิณฑิรา วีรจิตโตen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:00:58Z-
dc.date.available2020-08-07T01:00:58Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69365-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to study the level of happiness and happiness indicators including to study the factors affecting happiness of the population in Nan Old City. The data was collected via a questionnaire with 616 samples. The Ordered Logit model and Ordered Probit model which the measurement were divided into 5 levels, 6 indicators (economic, social, political and cultura, environment. And health) and 44 components were used to analyze the factors affecting happiness of the population in Nan Old City by estimating a simple modification of the log-likelihood and marginal probability or marginal effect. The results showed that all 6 happiness indicators has affected the happiness level of the population in Nan Old City. By some of the components of all 6 happiness indicators can be described as a variant of the happiness level of the population in Nan Old City statistically significant. Moreover, the estimations of the happiness level showed that there is a moderate level of happiness among the population in Nan Old City. And the cultural indicator is the most important indicator by the respondents and the estimation of the Ordered Logit model is suitable for data analysis to study this happiness level measuring and the analysis off Affecting happiness of the population in Nan Old Cityen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวัดระดับความสุขและวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสุขของประชากรในพื้นที่เมืองเก่าน่านen_US
dc.title.alternativeHappiness Level Measuring and the Analysis of Factors Affecting Happiness of the Population in Nan Old Cityen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อศึกษาระดับความสุขและดัชนีตัวชี้วัดความสุข รวมไปถึงเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระดับความสุขของกลุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน โดยข้อมูลที่ใช้ได้มาจากการใช้แบบสอบถามจำนวน 616 ตัวอย่าง ซึ่งในการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขของประชากรในพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน โดยใช้แบบจำลองโลจิทแบบเรียงลำดับ (Ordered Logit model) และ แบบจำลองโพรบิทแบบเรียงลำดับ (Ordered Probit model) ด้วยมาตรการวัดที่ถูกแบ่งออกเป็น 5 ระดับ 6 ตัวชี้วัด (ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสุขภาพ) และ 44 องค์ประกอบ และด้วยวิธีการประมาณภาวะความน่าจะเป็น (Maximum Likelihood Estimates) และการวิเคราะห์ส่วนเพิ่ม (Marginal Effects) ผลการศึกษาพบว่า ตัวชี้วัดระดับความสุขทั้ง 6 ด้าน ส่งผลต่อระดับความสุขของกลุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน โดยที่องค์ประกอบของตัวชี้วัดระดับความสุขหรือปัจจัยของทั้ง 6 ด้านบางส่วนเท่านั้นที่สามารถเป็นตัวแปรต้นที่อธิบายระดับความสุขของกลุ่มตัวอย่างประชากรได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ การประมาณค่าระดับความสุขกลุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่านพบว่า อยู่ในระดับสุขปานกลางโดยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญในตัวชี้วัดด้านวัฒนธรรมมากที่สุด และการประมาณค่าด้วยแบบจำลองโลจิทแบบเรียงลำดับ (Ordered Logit model) มีความเหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการศึกษาระดับความสุขและวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขของประชากรในพื้นที่เมืองเก่าน่านนี้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.