Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69350
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLect. Dr. Chaiwat Nimanussornkul-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Nachatchapong Kaewsompong-
dc.contributor.authorHathaichanoke Moonwongen_US
dc.date.accessioned2020-08-06T01:43:53Z-
dc.date.available2020-08-06T01:43:53Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69350-
dc.description.abstractThe purpose of research, “The Relationships between Thai Government Bond Yield and Economic Variables”, is to study overview of Thai bond market and relationships between Thai government bond yield and economic variables by Traditional and Threshold Cointegration. Ten years of monthly secondary data, representing Thai government bond yield and economic variables, which are interbank rate, private investment index, consumer price index, coincident economic index, exchange rate (baht/dollar), and SET index, had been employed since 1996 until the third quarter of 2014 (225 months in total) for this analysis. For Thailand, interest rate tends to decline because of weak domestic and external economies, making the return of domestic bond investment have still high fluctuation. The empirical results, Unit Root Test showed all variables are stationary at the first difference. Testing threshold by bootstrapping method found that when Sup 〖LM〗^0-β is fixed, it is shown that some of them can reject the null hypothesis. These models are Thai government bond yield with private investment index, Thai government bond yield with coincident economic index, and Thai government bond yield with SET index, leading to the idea of Balke and Fomby (1997) while the other models- Thai government bond yield with interbank rate, Thai government bond yield with exchange rate, and Thai government bond yield with consumer price index are investigated by the idea of Engle and Granger (1987). The results of Traditional Cointegration found that Thai government bond yield has cointegration with interbank rate, consumer price index, and exchange rate. Moreover, Thai government bond yield has a positive relation with interbank rate, and it has the negative relation with consumer price index and exchange rate. However, tests of Error Correction Model found that Thai government bond yield and interbank rate, consumer price index , and exchange rate have no short run adjustment toward long run equilibrium: speed of adjustments are equal to 0.9351, 0.9537 and 0.9745, respectively. For the results of Threshold Error Correction showed that Thai government bond yield with private investment index, and Thai government bond yield with coincident economic index models have short run adjustment toward long run equilibrium in both Upper and Lower Regimes which are equal to -0.0130, -0.0274, -0.0124 , and -0.2946, respectively. For Thai government bond yield with SET index model, it was found that they have short run adjustment toward long run equilibrium in only Upper Regime which is equal to -0.0162. Also, a policy maker should create a policy to reduce the speed of adjustment (error-correction term) to be effective short run adjustment toward long run equilibrium. Setting the government bond yield should not focus only on market yield, it should consider on the change of interbank rate, consumer price index and exchange rate.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleThe Relationships Between Thai Government Bond Yield and Economic Variablesen_US
dc.title.alternativeความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับตัวแปร ทางเศรษฐกิจของไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับตัวแปรทางเศรษฐกิจของ ไทยมีวัตถุประสงค์คือเพื่อศึกษาถึงภาพรวมตลาดตราสารหนี้ไทยในปัจจุบันและความ สัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับตัวแปรทางเศรษฐกิจของไทยด้วยแบบจำลอง Traditional Cointegration และ Threshold Cointegration โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายเดือนของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลที่มีอายุ 10 ปีและตัวแปรทางเศรษฐกิจของไทย ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร (Interbank Rate) ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (Private Investment Index) ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index) ดัชนีพ้องเศรษฐกิจ (Coincident Economic Index) อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์ (Exchange Rate) และดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Index) ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2539 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 (จำนวน 225 เดือน) มาทำการวิเคราะห์ สำหรับประเทศไทย อัตราดอกเบี้ยยังคงมีแนวโน้มลดลงเพราะเนื่องจากความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนของการลงทุนในตลาดตราสารหนี้ไทยยังคงมีความผันผวนสูง ทั้งนี้ผลการศึกษาความสัมพันธ์ดังกล่าวพบว่าข้อมูลทุกตัวที่ใช้ในการศึกษา มีลักษณะนิ่งที่ I (1) เมื่อนำข้อมูลที่มีลักษณะนิ่ง ณ ระดับเดียวกันมาทดสอบ Threshold Cointegration ด้วยวิธี bootstrapping พบว่าในกรณีของเบต้าคงที่ มีบางโมเดลสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลัก ได้ซึ่งได้แก่ โมเดลของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับดัชนีการลงทุนภาคเอกชน โมเดลของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับดัชนีพ้องเศรษฐกิจและโมเดลของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาล กับดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งนำไปสู่การทดสอบตามแนวคิดของ Balke และ Fomby (1997)ในขณะที่โมเดลอื่นอาทิ โมเดลของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับอัตราดอก เบี้ยเงินให้กู้ระหว่างธนาคาร โมเดลของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับอัตราแลกเปลี่ยนและโมเดลของผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับดัชนีราคาผู้บริโภคถูกทดสอบตามแนวคิดของ Engle และ Granger (1987) ผลการทดสอบหาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพด้วยวิธี Traditional Cointegration และ Error Correction Model พบว่า ผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระว่างธนาคาร ดัชนีราคาผู้บริโภคและอัตราแลกเปลี่ยน โดยทิศทางความสัมพันธ์เป็นไปในทางบวกกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคารและทางลบกับ ดัชนีราคาผู้บริโภคและอัตราแลกเปลี่ยน สำหรับความเร็วในการปรับตัวระยะสั้นพบว่าผลตอบ แทนตราสารหนี้รัฐบาลกับตัวแปรดังกล่าวข้างต้น ไม่มีการปรับตัวระยะสั้นโดยมีค่าเท่ากับ 0.8815 0.9562 และ 0.9745 ตามลำดับ อย่างไรก็ตามเมื่อทดสอบความเร็วในการปรับตัวระยะสั้น ด้วยวิธี Threshold Error Correction Model พบว่า ผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับดัชนีการลงทุนภาคเอกชนและผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับดัชนีพ้องเศรษฐกิจมีการปรับตัวระยะสั้น ทั้งใน Upper Regime และ Lower Regime ซึ่งมีค่าเท่ากับ -0.0130 -0.0274 -0.0124 และ -0.2946 ตามลำดับ สำหรับผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า มีการปรับตัวระยะสั้นในเฉพาะกรณีของ Upper Regime เท่านั้น โดยมีค่าเท่ากับ -0.0162 ทั้งนี้ผู้ออก นโนบายควรจะสร้างนโยบายที่ช่วยลด Error Correction Term เพื่อนำไปสู่การปรับตัวของดุลยภาพระยะสั้นเข้าสู่ดุลยภาพระยะยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการกำหนดผลตอบแทนของตราสารหนี้รัฐบาลนั้นไม่ควรเพ่งเล็งอัตราผลตอบแทนของตลาดเพียงอย่างเดียว ควรพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร ดัชนีราคาผู้บริโภคและอัตราแลกเปลี่ยนด้วยen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.