Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Suvichai Rojanasthien-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Prapas Patchanee-
dc.contributor.advisorProf. Dr. Manat Suwan-
dc.contributor.authorSuwit Chotinunen_US
dc.date.accessioned2020-08-05T03:51:50Z-
dc.date.available2020-08-05T03:51:50Z-
dc.date.issued2015-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69338-
dc.description.abstractSalmonella is pathogen of many mammalian species and it is one of the most important bacteria that cause food borne illness worldwide. Salmonella spp. can be commonly found in raw poultry and meat. Eggs, agricultural products, processed foods, raw milk and raw milk products and contaminated water also have been implicated in human salmonellosis. In Thailand, Salmonella was found to be the second largest cause of food poisoning, following rotavirus. Furthermore, antimicrobial-resistant strains of Salmonella spp. has been reported in many parts of the world. The importance of the resistance is that the bacteria acquire their resistance in the animal host before being transmitted to human through food chain. This may result treatment failures in human when applying antimicrobial agents to treat human salmonellosis. This study aimed to elucidate the status of small scale poultry slaughterhouses and their affect to ecological and health in the community in order to sustainably enhance hygiene and functioning of small scale poultry slaughterhouses in Northern Thailand. Initial steps included the identification of key stakeholders associated with the meat production chain, development of a research framework, and design of a methodology based on stakeholder consultations. The framework and methodology combine issues in five major areas: (1) public health, (2) socioeconomics, (3) policy, (4) veterinary medicine, and (5) communities and the environment. Consequently, a total of 41 small-scale poultry slaughterhouses were visited during the period from July 2011 to May 2012. Data on the current status of the slaughterhouses regarding productivity, economic status, hygienic management, and opportunities and challenges faced in improving the plants and following the DLD slaughterhouse regulations, were collected using a structured questionnaire and interviews. In addition, a checklist, which was developed based on the DLD regulations, was used for triangulation. In addition, a microbiological risk assessment approach was employed to detect Salmonella contamination in meat processing facilities. The microbial risk assessment was combined with stakeholder perceptions to provide an overview of the existing situation, as well as to identify opportunities for upgrading slaughterhouses in order to more effectively address matters of food safety, processing, and government licensing. The results of this study demonstrated that the developed conceptual framework could elucidate the complex factors limiting small-scale slaughterhouse improvement including a lack of appropriate enabling policies and an apparent absence of feasible interventions for improvement. Unhygienic slaughterhouse management was reflected in the incidence of Salmonella contamination. The prevalence of Salmonella spp. in live poultry, carcasses, waste water, and soil around processing plants were 3.17%, 7.32%, 21.27% and 29.27%, respectively. Moreover, the bacteria could be isolated from each point of slaughter lines. Eighteen different serotypes were identified, the most common being Corvallis (15.19%), followed by Rissen (13.92%), Hadar (12.66%), Enteritidis (10.13%), [I. 4,5,12 : i : -], Stanley, and Weltevreden (8.86%). Tests revealed that 68.35% of the Salmonella spp. were resistant to at least one antimicrobial while 50.63% showed multiple drug resistance (MDR). Specifically, 44.30% of Salmonella was resistant to nalidixic acid, followed by streptomycin (41.77%), ampicillin (34.18%), tetracycline (34.18%), and sulfamethoxazole/trimethoprim (20.25%). Policy advocacy was implemented through meeting with policy-level DLD officer responsible for slaughterhouse control in Thailand. The instruction including blueprint and feasible criteria of good practice of small scale poultry slaughterhouse was developed and then tested of microbiological quality of the meat. The results showed that Coliform bacteria and total bacteria count in meat after implementation was lower than that before implementation. It could be concluded that there is potential for the use of an Ecohealth approach to address critical problems and it’s solving at the interface of rural development and public health. The findings of this study could serve as a model for transdisciplinary studies and interventions related to other similar complex challenges.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleThe Status of Hygienic Practices of Small Scale Poultry Slaughterhouse in Thailand: an EcoHealth Approachen_US
dc.title.alternativeสถานภาพของการปฏิบัติด้านสุขศาสตร์ของโรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็กในประเทศไทยตามแนวทาง EcoHealthen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractเชื้อซัลโมเนลลา เป็นเชื้อสาเหตุหลักของโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารที่มากับอาหารในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดทั่วโลก เชื้อนี้สามารถพบได้ในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ไข่ และสินค้าทางการเกษตรหลายชนิด และมีความเกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อซัลโมเนลลาในมนุษย์ ในประเทศไทย เชื้อแบคทีเรียนี้เป็นสาเหตุอันดับสองของโรคอาหารเป็นพิษในผู้ป่วยรองจากเชื้อไวรัสโรตา นอกจากนี้ ปัญหาเชื้อแบคทีเรียซัลโมเนลลาที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพก็เป็นปัญหาวิกฤตทางสุขภาพที่สำคัญและมีรายงานทั่วโลก ความสำคัญของปัญหาเชื้อดื้อยาที่สำคัญได้แก่ เชื้อซัลโมเนลลาที่พบในสัตว์สามารถส่งผ่านคุณสมบัติของการดื้อยาไปยังเชื้อซัลโมเนลลาที่ก่อโรคในมนุษย์ผ่านทางห่วงโซ่การผลิตอาหารจากเนื้อสัตว์ได้ ซึ่งส่งผลกระทบที่สำคัญคือ ทำให้เชื้อแบคทีเรียซัลโมเนลลาที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในผู้ป่วยดื้อต่อยาต้านจุลชีพที่ใช้รักษา จุดประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อศึกษาระบบการจัดการด้านสุขศาสตร์ในโรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็ก และผลกระทบต่อสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และพัฒนาแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการด้านสุขศาสตร์ของโรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ทำการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของระบบการผลิตเนื้อสัตว์ปีกและเชิญเข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัยตั้งแต่ช่วงแรกของการดำเนินการ ทำการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย และการพัฒนาวิธีการศึกษาวิจัยร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กรอบการศึกษาวิจัยครอบคลุมสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้แก่ 1) สาธารณสุข 2) สังคมและเศรษฐศาสตร์ 3) นโยบาย 4) สัตวแพทยศาสตร์ และ 5) ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการศึกษาเก็บรวบรวมได้จากฆ่าสัตว์ปีกจำนวน 41 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงเดือน กรกฎาคม 2554-พฤษภาคม 2555 โดยข้อมูลที่ต้องการประกอบด้วยปริมาณการผลิตต่อวัน สถานภาพทางด้านเศรษฐศาสตร์ การจัดการด้านสุขศาสตร์และสุขอนามัยในโรงฆ่าสัตว์ แนวทางในการพัฒนาและปัญหาในการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ตามข้อกำหนดมาตรฐานโรงฆ่าสัตว์ปีกของประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ และใช้แบบสังเกตและแบบบันทึกตรวจสอบในการสอบเทียบข้อมูล ทำการเก็บตัวอย่างจากสัตว์ปีกมีชีวิต ขั้นตอนการฆ่า ซากสัตว์และตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อม เพื่อทดสอบการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลา ข้อมูลการจัดการดังกล่าวและทัศนคติของเจ้าของโรงฆ่า ถูกนำมาวิเคราะห์ถึงสถานภาพการจัดการของโรงฆ่าสัตว์ปีก และโอกาสในการพัฒนาโรงฆ่าตามข้อกำหนดมาตรฐานโรงฆ่าสัตว์ปีกที่มีอยู่เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทางอาหาร ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของหน่วยงานและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็ก เช่น นโยบายที่ยังไม่ชัดเจนในการเข้าไปช่วยเหลือ ให้คำแนะนำในการพัฒนาโรงฆ่า ส่งผลให้โรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็กมีการจัดการสุขศาสตร์ที่ไม่เหมาะสม และทำให้เกิดการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลา ทั้งนี้ ความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในสัตว์ปีกมีชีวิตก่อนการฆ่า ซากสัตว์ปีกหลังการฆ่าและชำแหละ น้ำเสีย และดินบริเวณรอบโรงฆ่าเท่ากับ 3.17%, 7.32%, 21.27% และ 29.27% ตามลำดับ นอกจากนี้ ยังแยกเชื้อได้ในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการฆ่าชำแหละ ซีโรไทป์ที่แยกได้ส่วนใหญ่คือ Corvallis (15.19%), รองลงมาคือ Rissen (13.92%), Hadar (12.66%), Enteritidis (10.13%), [I. 4,5,12 : i : -], Stanley, และ Weltevreden (8.86%) ตามลำดับ 68.35% ของเชื้อที่แยกได้นั้นดื้อต่อยาต้านจุลชีพอย่างน้อย 1 ชนิด และ 50.63% ของเชื้อดื้อต่อยาต้านจุลชีพหลายชนิด 44.30% ของเชื้อดื้อต่อ nalidixic acid, รองลงมาคือ streptomycin (41.77%), ampicillin (34.18%), tetracycline (34.18%), sulfamethoxazole/trimethoprim (20.25%) tetracycline (34.18%), และ sulfamethoxazole/trimethoprim (20.25%). ดำเนินการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ระดับนโยบายของกรมปศุสัตว์ที่ทำหน้าที่ควบคุมโรงฆ่าสัตว์ของประเทศของกรมปศุสัตว์ และได้พัฒนารูปแบบและข้อกำหนดที่ปฏิบัติได้จริงของแนวทางการปฏิบัติที่ดีของโรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็ก หลังจากนั้นได้ทำการทดสอบผลของการพัฒนาต่อคุณภาพเนื้อสัตว์ทางด้านจุลชีววิทยา ผลการทดสอบพบว่าสามารถลดการปนเปื้อนของเชื้อโคลิฟอร์มและเชื้อแบคทีเรียรวมที่ปนเปื้อนในเนื้อสัตว์ปีกหลังการชำแหละลงได้ การศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่า การศึกษาโดยใช้แนวทาง Ecohealth มีประสิทธิภาพในการแสดงความซับซ้อนและความเชื่อมโยงอย่างครอบคลุมของปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางต้นแบบของการดำเนินการแบบสหสาขาวิชาและการแก้ไขปัญหาที่มีลักษณะซับซ้อนได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.