Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Dr. Songsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Chukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Jirakom Sirisrisakulchai-
dc.contributor.authorKittawit Autchariyapanitkulen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:50:05Z-
dc.date.available2020-07-31T00:50:05Z-
dc.date.issued2015-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69212-
dc.description.abstractThe research work presented in this dissertation provides some novel contributions to financial econometrics. Essentially, we investigated two main important issues in financial econometrics, namely portfolio optimization in high dimension of stock returns, and evaluation of portfolio returns in several models (Fama-French model, and Capital Assets Pricing Model/ CAPM). While these issues have been previously investigated, we improved upon previous results by using more modern methodologies, namely quantile regression and copulas. Specifically, we used quantile regression models with error terms having asymmetric Laplace distributions and model more realistic dependence structures by copulas. Our main results are summarized as follows. In determining the factors influencing the prediction of portfolio returns and risk in CAMP and Fama-French three factor model, we found that quantile regression can explain the entire conditional distribution of the outcome variable, and is more robust to outliers and heteroskedasticity without the need to specify the error distribution (i.e., we carry out a semi-parametric statistical analysis). When data reveal information for specifying error distribution, a fully parametric statistical analysis is desirable as it should be more efficient. In contrast to mean linear regression where (symmetric) normal distribution for error leads to the use of Maximum Likelihood Estimators (MLE) with asymptotic properties such as asymptotic efficiency, asymptotic normality and consistency, the error distribution in a quantile regression model is an asymmetric Laplace distribution (ALD). This is consistent with conditional quantile estimators obtained as minimizers of corresponding loss functions for quantiles in the general theory of quantile regression. Our empirical results show that quantile regression under ALD can capture the stylized facts in financial data to describe the stock returns under various quantile levels. Furthermore, since there is no monotonic relationship between risk and stock returns, our analysis reveals the ability to increase the returns of portfolios beyond risk exposure, which can be achieved by using quantile regression for risk measurement. The incorporation of copulas into our analysis improved previous similar works. Specifically, we used t-copulas to model dependence structures of portfolio risks. Multivariate t-copula based on GARCH models were used to explain portfolio risk structure in high dimensional asset allocation. Within this method, we applied Monte Carlo Simulations to estimate the expected shortfall of the portfolios. Finally, we obtained the optimal weighted conditional Value-At-Risk. The optimization technique was used to allocate risk in the portfolios.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleApplications of Quantile Regression Under Asymmetric Laplace Distribution and Copula Based Returns and Risk Measures to Financial Econometricsen_US
dc.title.alternativeการประยุกต์วิธีการถดถอยแบบควอไทล์ภายใต้การแจกแจงแบบอสมมาตรลาปลาซและบนพื้นฐานของคอปปูลาในการวัดผลตอบแทนและความเสี่ยงทางการเงินทางเศรษฐมิติen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยที่นำเสนอในวิทยานิพนธ์นี้ ได้นำเสนอผลงานใหม่สำหรับงานทางเศรษฐมิติการเงิน โดยหลักแล้ว เราได้ศึกษาประเด็นหลักสองประเด็นที่สำคัญต่อเศรษฐมิติการเงิน กล่าวคือ การศึกษาผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ดีที่สุดสำหรับพอร์ตการลงทุนในมิติสูง และการประเมินผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุนในแบบจำลองต่างๆ (แบบจำลองฟามา-เฟรนช และแบบจำลองการประเมินราคาสินทรัพย์ทุน) โดยประเด็นเหล่านี้ได้ถูกศึกษามาก่อนหน้านี้แล้ว เราได้ปรับปรุงผลลัพธ์ที่มีมาก่อนหน้านี้โดยใช้วิธีการที่นำสมัยมากขึ้น โดยใช้วิธีการถดถอยแบบควอนไทล์และคอปปูลาส โดยเฉพาะ เราใช้แบบจำลองการถดถอยแบบควอนไทล์กับพจน์ของค่าความคลาดเคลื่อนที่มีการกระจายแบบอสมมาตรลาปลาซ และรูปแบบโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่องกันของตัวแปรให้สอดคล้องกับความเป็นจริงมากขึ้น โดยวิธีคอปปูลาส ผลลัพธ์ของการศึกษามีดังนี้ ในการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อการพยากรณ์ผลตอบแทนและความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนในแบบจำลองฟามา-เฟรนช และแบบจำลองการประเมินสินทรัพย์ทุน เราจะพบว่า การถดถอยแบบควอนไทล์สามารถอธิบายเงื่อนไขทั้งหมดของการแจกแจงของตัวแปรที่เป็นผลลัพธ์ และมีความแกร่งต่อค่าที่ผิดปกติ มีความแกร่งต่อความแปรปรวนของตัวคลาดเคลื่อนในแบบจำลองที่มีค่าไม่คงที่ โดยที่ไม่ต้องระบุการกระจายตัวของค่าความคลาดเคลื่อน ยกตัวอย่างเช่น เราศึกษาการวิเคราะห์ทางสถิติแบบกึ่งพาราเมตริก เมื่อข้อมูลได้แสดงถึงสารสนเทศสำหรับระบุการกระจายตัวของค่าความคลาดเคลื่อน การวิเคราะห์ทางสถิติแบบพาราเมตริกจะเป็นที่ต้องการและมีประสิทธิภาพมากกว่า ในทางตรงกันข้ามกับตัวประมาณการถดถอยที่ลู่เข้าสู่ค่ากลางเชิงเส้น (สมมาตร) เมื่อการกระจายแบบปกติสำหรับค่าความคลาดเคลื่อนนำไปสู่การประมาณด้วยภาวะความน่าจะเป็นสูงสุด กับคุณสมบัติแอสซิมทอททิคเช่น ความคงเส้นคงวาของตัวประมาณ แอสซิมทอททิคความปกติ และแอสซิมทอททิคความมีประสิทธิภาพ การกระจายตัวของค่าความคลาดเคลื่อนในแบบจำลองการถดถอยแบบควอนไทล์ภายใต้การแจกแจงแบบอสมมาตรลาปลาซ นั้นมีความคงเส้นคงวาที่สอดคล้องกับเงื่อนไขของตัวประมาณแบบควอนไทล์ที่ได้จากการทำให้ฟังก์ชันตอบสนองข้อผิดพลาดมีค่าน้อยลงในทางทฤษฏีทั่วไปของการถดถอยแบบควอนไทล์ ผลการศึกษาเชิงประจักษ์ได้แสดงให้เห็นว่าการถดถอยแบบควอนไทล์ภายใต้การแจกแจงแบบอสมมาตรลาปลาซนั้น สามารถอธิบายข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินเพื่อที่จะอธิบายผลตอบแทนของหลักทรัพย์ภายใต้ระดับของควอนไทล์ที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ การไม่มีความสัมพันธ์แบบในทิศทางเดียวระหว่างความเสี่ยงและผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ผลการศึกษาของเราได้แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเพิ่มผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุนที่นอกเหนือจากความเสี่ยง ซึ่งสามารถถูกกระทำให้สำเร็จได้โดยการใช้การถดถอยแบบควอนไทล์สำหรับการวัดความเสี่ยง ผนวกกับการใช้คอปปูลาสในการวิเคราะห์ เราได้ปรับปรุงงานที่มีความคล้ายคลึงกันก่อนหน้านี้ โดยเฉพาะ เราใช้วิธีการที-คอปปูลาเพื่อจำลองโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่องกันของตัวแปรสำหรับความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุน วิธีการพหุตัวแปรแบบที-คอปปูลาบนพื้นฐานของแบบจำลองการ์ช ได้นำมาใช้เพื่ออธิบายโครงสร้างของความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนสำหรับการจัดสรรสินทรัพย์ในมิติสูง ในวิธีการนี้เราจะใช้เทคนิคการจำลองแบบมอนติคาร์โลเพื่อประมาณค่าคาดหมายของขนาดความสูญเสียของพอร์ตการลงทุน สุดท้ายเราได้รับน้ำหนักที่เหมาะสมที่สุดของมูลค่าความเสี่ยงแบบมีเงื่อนไข เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพได้ถูกนำมาใช้ในการจัดสรรความเสี่ยงสำหรับพอร์ตการลงทุนen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf8.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.