Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Ruetinan Samuttai-
dc.contributor.advisorAssociate Professor Dr. Somsak Phuvipadawat-
dc.contributor.advisorAssociate Professor Dr. Kiatsuda Srisuk-
dc.contributor.authorSirisawas Thongkanluangen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:48:06Z-
dc.date.available2020-07-31T00:48:06Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69200-
dc.description.abstractThis study had objectives to develop factors and indicators of competency in learning management at basic education level, study and analyze the competency evaluation model, construct, trial, and search for the value competency evaluation model for learning management apart from examining the validity of the causal relationships of learner quality at basic education level with the empirical data applying R&D process, that is, 4 research phases: development of factors and indicators for competency in learning management having effects on learner quality at basic education level, documentary analysis of competency evaluation model, construction and trial of the competency evaluation model in learning management at basic education level for student teachers of Rajabhat universities, and verify the causal relationships of student teachers in Rajabhat universities that influenced the quality of learners at basic education level. The population and samples were 14 expert staffers of assessment of indicators and factors; 3 groups of people concerning in the competency evaluation model: 95 curriculum committee members and advisor instructors, 424 school administrators and overseeing teachers, and 678 student teachers. The tools employed in data collection were questionnaires, record forms for focus-group discussion, and a model of competency evaluation on learning management. The quality data analysis comprised frequency, percent, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, Scheffe's multiple comparison test, Chi-square test, and structural equation modeling analysis as well as content analysis. It was found that: 1. The development of factors and indicators for competency in learning management at basic education for student teachers in Rajabhat universities revealed that there were 4 factors and 12 indicators: the knowledge factor consisted of 2 indicators, that is, teaching profession knowledge and content arrangement knowledge; the characteristic factor consisted of 2 indicators, that is, teacher characteristic and attitudes towards the teaching profession; learning management factor consisted of 6 indicators, that is, learner analysis, learning design, learning management preparation, learning process organization, evaluation learning, and improvement and research for development in learning management; and learner quality factor consisted of 2 indicators, that is, learning achievement and learning person characteristic. 2. The model of competency evaluation on learning management in basic education level for student teachers of Rajabhat universities was composted of 2 parts, that is, part 1: the issues to evaluate, the background, and significant points of the competency in learning management; and part 2: the evaluation method, evaluation concepts, objective of the evaluation, evaluation framework, evaluation tool, evaluation process, judgment of competency level, and application of the evaluation. The evaluation model was used in an applicable manner mainly with the authentic assessment and having it integrate with the Tyler’s objective evaluations model, Provus' discrepancy evaluation model, Fetterman’s empowerment evaluation model, and Council and Earl’s participatory evaluation model. The evaluation model was tried out with the sample student teachers of 179 Rajabhat universities. The outputs were scores and quality levels of indicators, sub competencies and a summative competency in learning management for each student teacher, program of study and university. As regards the quality of evaluation model resulted from the opinions having had from the 3 evaluator groups comprising 22 advisor instructors, 126 overseeing teachers, and 166 student teachers, it revealed that the evaluation model constructed and developed, as a whole, was accurate, valid, reliable, appropriate, and useful; the mean opinion level of the evaluation model was 4.47 or regarded as very high level. 3. The causal relationship model of student teachers that had effects on learner quality at basic education level having been constructed was in consistency and in harmony with the empirical data with Chi-square at 7.68, df = 16, p = 0.96, 2/df = 0.48, RMSEA = 0.00, RMR = 0.02, Standardized RMR = 0.01, GFI = 0.99, AGFI = 0.97 and Q-plot; having more steepness than the diagonal lines. The evaluation model comprised of 12 variables. As regards the structural model, it revealed that there were student teachers factors which had effects on learner quality, in this order of importance: learning management, characteristic, and knowledge, respectively, 94 percent of the covariance in the learner quality latent variables could be explained.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleModel of Competency Evaluation on Learning Management in Basic Education Level for Student Teachers of Rajabhat Universitiesen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการประเมินสมรรถนะจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้สมรรถนะจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการประเมินสมรรถนะ สร้าง ทดลองใช้ และหาคุณภาพรูปแบบการประเมินสมรรถนะจัดการเรียนรู้ฯ รวมทั้งตรวจสอบความเที่ยงตรงของโมเดลสัมพันธ์เชิงสาเหตุของคุณภาพของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วยการวิจัย 4 ระยะคือ การพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้สมรรถนะจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการประเมินสมรรถนะ การสร้างและการทดลองใช้รูปแบบการประเมินสมรรถนะจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ และการตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ คณะผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาตัวบ่งชี้และองค์ประกอบจำนวน 14 คน และกลุ่มผู้เกี่ยวข้องในการประเมินสมรรถนะจัดการเรียนรู้ 3 กลุ่มคือ คณะกรรมการหลักสูตรและอาจารย์นิเทศก์ 95 คน ผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง 424 คน และนักศึกษาครู 678 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบตรวจสอบรายการ แบบสอบถามความคิดเห็น แบบบันทึกการสนทนากลุ่มย่อย และรูปแบบการประเมินสมรรถนะจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่พหุคูณโดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ การทดสอบไควสแคร์ การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่ามี 4 องค์ประกอบ 12 ตัวบ่งชี้ ได้แก่องค์ประกอบด้านความรู้ มี 2 ตัวบ่งชี้คือ ความรู้ในวิชาชีพครู และความรู้ในการจัดเนื้อหาสาระ องค์ประกอบด้านบุคลิกลักษณะ มี 2 ตัวบ่งชี้คือ บุคลิกภาพครู และเจตคติที่มีต่อวิชาชีพครู องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการเรียนรู้ มี 6 ตัวบ่งชี้คือ การวิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบการเรียนรู้ การเตรียมจัดการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ และการปรับปรุงแก้ไขและวิจัยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งองค์ประกอบด้านคุณภาพของผู้เรียนมี 2 ตัวบ่งชี้คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ 2. รูปแบบการประเมินสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ได้แก่ สิ่งที่จะประเมินคือ ความเป็นมาและสาระสำคัญของสมรรถนะจัดการเรียนรู้ และส่วนที่ 2 ได้แก่ วิธีการประเมินคือ แนวคิดการประเมิน วัตถุประสงค์ กรอบการประเมิน เครื่องมือประเมิน กระบวนการประเมิน การตัดสินระดับคุณภาพสมรรถนะ และการนำผลการประเมินไปใช้ โดยประยุกต์รูปแบบการประเมินตามสภาพจริงเป็นหลักผสมผสานกับรูปแบบการประเมินยึดวัตถุประสงค์ของไทเลอร์ รูปแบบการประเมินความไม่สอดคล้องของโพรวัส การประเมินแบบเสริมพลังของเฟทเทอร์แมน และการประเมินแบบมีส่วนร่วมของเคาซินส์และเอียรล์ การทดลองใช้รูปแบบการประเมินกับนักศึกษาครู 179 คนในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มตัวอย่าง ผลที่ได้คือคะแนนและระดับคุณภาพสมรรถนะของนักศึกษาครูเป็นรายบุคคล กลุ่มสาขาวิชา และสรุปภาพรวมของมหาวิทยาลัย ทั้งในระดับตัวบ่งชี้ ระดับสมรรถนะย่อย และสรุปสมรรถนะจัดการเรียนรู้ จากการประเมินคุณภาพรูปแบบโดยการใช้แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบของผู้ประเมิน 3 กลุ่มคือ อาจารย์นิเทศก์ 22 คน ครูพี่เลี้ยง 126 คน และนักศึกษาครูเป็นผู้ประเมินตนเอง 166 คน พบว่ารูปแบบการประเมินที่สร้างและพัฒนาขึ้นโดยสรุปมีความถูกต้องเที่ยงตรง เชื่อถือได้ เหมาะสม และเป็นประโยชน์ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นเท่ากับ 4.47 หรืออยู่ในระดับมาก 3. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าไควสแควร์=7.68 df=16 p=0.96 2/df=0.48 RMSEA=0.00 RMR=0.02 Standardized RMR= 0.01 GFI=0.99 AGFI=0.97 และ Q-plot มีความชันกว่าเส้นในแนวทแยง ซึ่งโมเดลการวัดประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 12 ตัว และโมเดลโครงสร้างมีปัจจัยของนักศึกษาครูที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของผู้เรียนมากที่สุดคือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านบุคลิกลักษณะ และด้านความรู้ ตามลำดับ ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนร่วมในตัวแปรแฝงด้านคุณภาพของผู้เรียนได้ร้อยละ 94en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf13.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.