Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา เจรียงประเสริฐ-
dc.contributor.authorต่อพงศ์ โชคครรชิตไชยen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:47:59Z-
dc.date.available2020-07-31T00:47:59Z-
dc.date.issued2015-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69199-
dc.description.abstractDeveloping information system for Sales Management of Lampang Chaisiri Limited Partnership has an objective to study the development of information system for sale management for Lampang Chaisiri Partnership. The research was approached by studying the concept of System Development Life Cycle (SDLC) and the Data Flow Diagram. The data was collected by using the Semi-structured in-depth interview with managers and employees who were related to the sales system. The data was also collected by observing the sales system. The result of the analysis was report as the study showed that the company’s sales structure had eight people who were related in the sales system. The eight people are three managers, one accountant, two sales employees and two delivery employees. Through the current system analysis found that there were two requirements of information system, which were 1) Sales information system required a new clearer procedure management. Orders should be recorded through the information system. The system should be simple and not complicated to use. The procedure with new information system should help employees to work easily and should not bring more burdens to employees. It also should be able to check the working data in retrospect. The new system should have fully functional functions. During a sales, there should be attached documents, time records. Orders and payments checking should be available. There should have the sales data and payment available for comparison in the daily report. 2) Report of sales information system required to have a daily report, history report and customer report. There were three steps to redesign the information system, which were 1) Developing data flow diagram. It was a model of how the system works from the requirements of information system. 2) Designing computer system by using one computer with Stand-Alone information system then used Microsoft Office 365 Access as a tool to develop information system. 3) Designing database structure by using data flow diagram of new sales system to design the database structure with the Relation Database Model feature. System Implemented in 2 phrases, which were 1) Testing the whole system which occurred after the information system’s design was already finished. Then run the testing with the users and the developer together. 2) Applying the system. The system was applied by using Parallel Operation. When comparing data from the old system (recorded with account book) to the new information system, found that both of the data matched without any error. That confirmed that the system is efficient and could be operated without any mistake. The system also works on the job training for the user to understand and decreases of errors that could happen. So far the system works like it supposed to be, based from the design. So for the maintenance future plan, since there are events that could happen in the future, the developer will be regularly checking the system along with the need of user and manager. The developer would develop information system to meet the need of the user.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการขายของ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ลำปางชัยศิริen_US
dc.title.alternativeDeveloping Information System for Sales Management of Lampang Chaisiri Limited Partnershipen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการขายของห้างหุ้นส่วนจำกัด ลำปางชัยศิริมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการขายของห้างหุ้นส่วนจำกัด ลำปางชัยศิริ โดยวิธีการศึกษาใช้แนวคิดวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ และแบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ ซึ่งใช้การเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างกับผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องกับระบบการขายหน้าร้าน และเก็บข้อมูลจากการสังเกตการณ์การทำงานของระบบการขายหน้าร้าน ผลจากการศึกษาสามารถรายงานได้ดังนี้ การวิเคราะห์โครงสร้างองค์กรพบว่าโครงสร้างองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการขายมีพนักงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 8 คน แบ่งออกเป็น ผู้บริหาร 3 คน พนักงานบัญชี 1 คน พนักงานขายหน้าร้าน 2 คน พนักงานส่งของ 2 คน การวิเคราะห์ระบบงานปัจจุบันพบว่า ความต้องการด้านสารสนเทศแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ 1) สารสนเทศด้านการขายมีความต้องการคือ มีการจัดขั้นตอนการขายใหม่ให้เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน มีการบันทึกการสั่งซื้อผ่านสารสนเทศ สารสนเทศต้องใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน กระบวนการทำงานร่วมกับสารสนเทศใหม่ต้องช่วยให้ทำงานง่ายขึ้นและไม่เป็นการเพิ่มภาระงานให้กับพนักงาน สามารถตรวจข้อมูลการทำงานย้อนหลังได้ ระบบใหม่มีฟังก์ชั่นการใช้งานครบถ้วน ในระหว่างขั้นตอนการขายต้องมีเอกสารกำกับและบันทึกเวลา มีการตรวจสอบข้อมูลการสั่งซื้อและการชำระเงินทุกครั้ง และในสรุปรายงานประจำวัน ในรายงานควรมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับข้อมูลการขายและการชำระเงินมาเปรียบเทียบกัน และ2) สารสนเทศด้านรายงานการขายมีความต้องการคือ การออกรายงานสรุปการขายประจำวัน การออกรายงานสรุปการขายย้อนหลัง และ การออกรายงานสรุปการขายแบ่งตามลูกค้า การออกแบบสารสนเทศใหม่มีขั้นตอนการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ 1)การสร้างแผนภาพการไหลข้อมูล เป็นการสร้างแผนภาพการไหลข้อมูลจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ จากความต้องการสารสนเทศ 2)การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ จะใช้คอมพิวเตอร์ 1 เครื่องติดตั้งระบบสารสนเทศแบบ Stand Alone และใช้ โปรแกรม Microsoft Office 365 Access เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 3)การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลจะใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล ระบบการขายสินค้า (ใหม่) มาออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลในลักษณะแบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relation Database Model) การนำสารสนเทศไปใช้งานจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1)การทดสอบทั้งระบบ ซึ่งทำหลังจากออกแบบสารสนเทศเสร็จเรียบร้อยแล้ว และการทดสอบร่วมกันระหว่างผู้พัฒนาและผู้ใช้งานร่วมกัน 2) การนำไปใช้งาน ทำในลักษณะการปรับเปลี่ยนแบบคู่ขนาน (Parallel Operation) โดยเมื่อนำข้อมูลสรุปยอดขายที่ได้จากระบบเดิมคือการจดลงในสมุดบัญชีมาเปรียบเทียบกับข้อมูลที่ได้จากสารสนเทศ พบว่าข้อมูลทั้งสองตรงกัน ซึ่งเป็นการยืนยันว่าสารสนเทศสามารถใช้งานได้ ไม่มีความผิดพลาด นอกจากนี้ ยังทำในลักษณะฝึกปฏิบัติจริง (On the Job Training) เพื่อให้ผู้ใช้งานเกิดความเข้าใจและลดความผิดพลาดระหว่างการทำงาน การบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ จากการทดสอบสารสนเทศ พบว่าสารสนเทศสามารถใช้งานได้ตามที่ออกแบบไว้ สำหรับแผนการบำรุงรักษาระบบสารสนเทศในอนาคต เนื่องจากอาจมีเหตุการณ์ต่างๆที่สามารถเกิดขึ้นได้ในอนาคต ผู้พัฒนาระบบสารสนเทศจะทำการตรวจสอบการใช้ของสารสนเทศเป็นประจำ และคอยตรวจสอบความต้องการจากผู้ใช้งาน และผู้บริหารว่ามีความต้องการเพิ่มขึ้นหรือไม่ เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศให้ตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไปen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.