Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. สุทธิกัญจน์ ทิพยเกษร-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.authorวิไล กาวิชัยen_US
dc.date.accessioned2020-07-30T01:24:18Z-
dc.date.available2020-07-30T01:24:18Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69167-
dc.description.abstractThe purposes of this experimental research were (1) to develop Thai verse chanting ability for Mathayom Suksa 3 students and (2) to compare the pre-test and post-test achievement of Thai verse chanting ability by using prose technique. The sample was 36 students from Mathayom Suksa 3 class 1 at, Hong Son Suksa School, Mae Hong Son. The sample group was selected by sample random sampling. The instruments used in this research were five lesson plans of prose technique for fifteen periods, five exercises of prose technique, five the assessment forms for the exercise, and Thai verse chanting assessment form. The data were statistically analyzed by t-test. The findings of the research indicated that the students’ Thai verse chanting ability had increased at good level after using prose technique. Also, the posttest grade result in Thai verse chanting ability had increased in reading performance after using prose technique while level statically significant at .05. In conclusion, the prose technique can progressively improve students’ ability in Thai verse chanting.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้เทคนิคการขับร้องเพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนห้องสอนศึกษาen_US
dc.title.alternativeUsing Singing Techniques to Develop the Rhythm Reading Ability of Mathayom Suksa 3 Students , Hong Son Suksa Schoolen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนห้องสอนศึกษา และ เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินการอ่านทำนองเสนาะก่อนและหลังการใช้เทคนิคการขับร้อง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1โรงเรียนห้องสอนศึกษา จำนวน 36 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบสุมอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ 5 แผน 15 ชั่วโมง แบบฝึกที่มีเทคนิคการขับร้อง จำนวน 5 แบบฝึก และแบบประเมินการฝึกแบบฝึก 5 แบบประเมิน แบบประเมินการอ่านทำนองเสนาะ 1 แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การวิเคราะห์ค่าที แบบสองกลุ่มสัมพันธ์กัน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้รับการใช้เทคนิคการขับร้องพัฒนาความสามารถการอ่านทำนองเสนาะ มีความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะสูงขึ้นระดับดี และมีผลการประเมินการอ่านทำนองเสนาะหลังการใช้เทคนิคการขับร้องพัฒนาความสามารถการอ่านทำนองเสนาะ สูงขึ้นกว่าก่อนการใช้เทคนิคการขับร้องช่วยพัฒนาการอ่านทำนองเสนาะ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 แสดงว่าการใช้เทคนิคการขับร้องพัฒนาการอ่านทำนองเสนาะสามารถพัฒนาการอ่านทำนองเสนาะของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.