Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69158
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. หรรษาเศรษฐบุปผา-
dc.contributor.authorปิยพร วุฒิรัตน์en_US
dc.date.accessioned2020-07-30T01:23:14Z-
dc.date.available2020-07-30T01:23:14Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69158-
dc.description.abstractNumbers of personswith alcohol induced psychotic disorder (PAP) are increased and needs to care for. This study aimed to test the effectiveness of implementing the self-control program among PAP, Suanprung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province on drinking behavior and re-admission rate. Thirty PAP and 4 health care providers were in the study following the inclusion criteria of each. The instruments used were Demographic data from, the Alcohol Used Identification Test (AUDIT), Satisfaction form of PAP and health care providers. Descriptive data analysis was used in this study. The results of this study were 1. Drinking behaviors of PAP who received the self-control program were decreased from dependence to low risk drinking (46.6%), hazardous drinking (26.7%), harmful drinking (6.6%), and still dependence (10.0%) 2. Re-admission rate after 28 days of discharge of PAP who received the self-control program was 10.00 percent. 3. PAP’s satisfaction were most satisfaction on all dimensions (80-100%) 4. Health care providers of PAP’s satisfaction were most satisfaction on all dimensions (100%) The results of this study presented the effectiveness of implementing the self-control program among PAP, Suanprung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province on drinking behavior and re-admission rate. Therefore this program should be used to help and care for PAP in health system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเองในผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรา โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing the Self-control Program Among Persons with Alcohol Induced Psychotic Disorder, Suanprung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและเป็นปัญหาที่จะต้องช่วยเหลือ การศึกษาประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเองในผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรา โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์และการกลับมารักษาซ้ำ ของผู้เป็นโรคจิตจากสุราจำนวน 30 ราย และบุคลากรทีมสุขภาพ 4 ราย กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรา ทีมสุขภาพ และโปรแกรมควบคุมตนเองของปนัดดา ธีระเชื้อ หรรษา เศรษฐบุปผา และสิริลักษณ์ วรรธนะพงษ์(ปนัดดา ธีระเชื้อ, 2550)วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรามีพฤติกรรมการดื่มสุราหลังได้รับโปรแกรมการควบคุมตนเอง โดยมีพฤติกรรมการดื่มลดลงจากแบบติดเป็นแบบเสี่ยงน้อยมากที่สุด ร้อยละ 46.6 แบบเสี่ยงร้อยละ 26.7 แบบมีปัญหาร้อยละ 6.6 และยังคงดื่มแบบติดร้อยละ 10 2. ผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรามีพฤติกรรมการดื่มสุราหลังได้รับโปรแกรมการควบคุมตนเองมีการกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วัน ร้อยละ 10 3. ผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรามีความพึงพอใจต่อการได้รับโปรแกรมการควบคุมตนเอง ในระดับมาก มากที่สุดทุกด้าน ร้อยละ 80-100 4. ทีมสุขภาพที่ให้การดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรามีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเองในระดับมากทุกด้าน ร้อยละ 100 ผลการศึกษาแสดงถึงประสิทธิผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองในผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรา โดยสามารถลดพฤติกรรมการดื่มสุราและการกลับมารักษาซ้ำได้ จึงสมควรใช้ในการให้การช่วยเหลือดูแลผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุราในระบบสุขภาพต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.