Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69134
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | ชัชวาลย์ ใจอินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-27T07:59:26Z | - |
dc.date.available | 2020-07-27T07:59:26Z | - |
dc.date.issued | 2015-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69134 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this Independent study were to: 1) To study the state and problems of Inclusive Education Administration of Inclusive Schools, Chiang Rai Primary Service Area Office3. 2) To study the development strategies of Inclusive Education Administration of Inclusive Schools, Chiang Rai Primary Service Area Office3. The steps of this study were to: 1) To study of the state and problems of Inclusive Education Administration of Inclusive Schools, population used in this study consisted of the directors, the heads of academic department, and the teachers who are responsible for Inclusive Education of Inclusive Schools. The instrument used was Questionnaire and the data was analyzed by mean, standard deviation and frequency rank. 2) The study and the draft of development strategies of Inclusive Education Administration of Inclusive Schools, the target groups were the directors, the heads of academic department, the teachers who are responsible for Inclusive Education of Inclusive Schools, and the supervisors who are responsible for Inclusive Education. The instrument used interview and data analyzed was inductive reasoning. 3) The investigation of the development strategies draft of Inclusive Education administration of Inclusive schools. The research founding was as followed the state of Inclusive Education of Inclusive Schools reveal medium level in general. In specific points, they were put order from the highest to the lowest as the following aspects, first of all, learning activities reveal high level. Seconds, tools were found in the same high level and the last one, students and environment were medium level. All of them got the same mean. Problems of Inclusive Education Administration were special child don’t pay attention in learning, special child teaching. Lack of interest from the parents, and also don’t have the preparation for learning before coming to school. Lack of school budget improves environment classroom and teaching aids. There aren’t enough media facilities and also evaluation and measurement tools that appropriate in each students. For the development strategies of Inclusive Education Administration of Inclusive Schools were suggested that the directors should appoint Inclusive Education Administration of Inclusive Schools committees and define them about their role and responsibility in Inclusive Education Administration follow the SEAT Framework under all cooperation. Next, joining the experts who are experienced in finding some suitable equipment and screaming special child. Moreover, teachers and personals in the school should have the opportunity to improve themselves about teaching techniques and research, following, checking, and satisfaction assessment in working on order to improve Inclusive School. Finally, the feasibility, the correctness and the suitability reveal high level in general. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 | en_US |
dc.title.alternative | Inclusive Education Administration of Inclusive Schools, Chiang Rai Primary Education Service Area Office 3 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 มีขั้นตอนในการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม ประชากร คือ ผู้บริหาร ครูหัวหน้าวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบโครงการเรียนร่วม ของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความถี่ 2) การศึกษาและร่างแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหาร ครูหัวหน้าวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบโครงการเรียนร่วม ของโรงเรียนต้นแบบจัดการเรียนร่วม ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการเรียนร่วม เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปแบบอุปนัย และ 3) การตรวจสอบร่างแนวทาง การพัฒนาการบริหารจัดการเรียนร่วม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ/มีประสบการณ์ในด้านการศึกษาพิเศษ เครื่องมือที่ใช้คือแบบตรวจสอบความเป็นไปได้ ความถูกต้อง ความเหมาะสม ของร่างแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการเรียนร่วม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า สภาพการบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม มีการดำเนินงาน/เป็นจริงโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงที่สุดไปหาต่ำที่สุดพบว่า อันดับที่ 1 คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน (A : Activities) มีการดำเนินงาน/เป็นจริงอยู่ในระดับมาก อันดับที่ 2 คือ ด้านเครื่องมือ (T : Tools) มีการดำเนินงาน/เป็นจริงอยู่ในระดับมาก อันดับที่ 3 คือ ด้านนักเรียน (S : Students) และด้านสภาพแวดล้อม (E : Environment) มีการดำเนินงาน/เป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ปัญหาของ การบริหารจัดการเรียนร่วม คือ เด็กที่มีความต้องการพิเศษขาดความสนใจในกิจกรรมการเรียน การสอน เด็กไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครอง ไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนร่วม โรงเรียนขาดงบประมาณในการปรับสภาพแวดล้อม ห้องเรียน และสื่อ ครูขาดความรู้ในการจัดทำหลักสูตร แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ขาดเทคนิควิธีการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขาดสิ่งอำนวยความสะดวกตามความจำเป็นพิเศษที่ทันสมัย อีกทั้งยังขาดเครื่องมือวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษแต่ละคน สำหรับแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการเรียนร่วมของโรงเรียนเรียนร่วม คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการเรียนร่วมและกำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการเรียนร่วมตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ประสาน ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์ในการร่วมจัดหาเครื่องมือและร่วมคัดกรองเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ควรส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาเทคนิคการสอน การวิจัย มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลความพึงพอใจการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนร่วมให้ดีขึ้นไป ส่วนผลการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความถูกต้อง และความเหมาะสม พบว่า ทุกด้านและทุกประเด็น โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.