Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69100
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.นัทมน คงเจริญ | - |
dc.contributor.author | นพพร ใจพิมพ์สว่าง | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-25T03:03:40Z | - |
dc.date.available | 2020-07-25T03:03:40Z | - |
dc.date.issued | 2015-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69100 | - |
dc.description.abstract | This independent study was conducted to investigate the consideration of the Administrative Court regarding stakeholders who signed the contracts or businesse transactions with the local administrative organizations. The applied concepts and theories in this studyt, regarding description of stakeholders, were also reviewed. The study examined comments of the Council of State and Admininistrative Court decisions by using selected cases that government officials or authorities were considered as the stakeholders under the contracts or business transactions with local administrative organizations. As a result of the study, the opinions of the Council of State through the suggestions to several organizations regarding the consideration about stakeholders who signed the contracts or businesse transactions with the local administrative organizations were mainly based on the principles of conflict of interests. However, the Administrative Court would consider the facts in each case basis whether the authority wrongly exercised the power for one own benefit or took advantage of the public interest or not. Moreover, the Administrative Court would decide that the authority who was responsible for ordering or approving of activity or managment of that local administrative organization whether had exploited the benefit for himself or his group, ethier direct or indirect approach. Accordingly, the decisions of Administrative Court for each case were different. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวินิจฉัยเหตุแห่งการเป็นผู้มีส่วนได้เสียกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของศาลปกครอง | en_US |
dc.title.alternative | Consideration of the Administrative Court Regarding Stakeholders With the Local Administrative Organizations | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้เป็นการศึกษาการวินิจฉัยเหตุแห่งการเป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญาหรือกิจการที่ทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของศาลปกครอง โดยศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การวินิจฉัยในเหตุแห่งการเป็นผู้มีส่วนได้เสีย จากความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาและ จากคำวินิจฉัยของศาลปกครอง ซึ่งเคยมีคำพิพากษาในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐเป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญาหรือกิจการที่ทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากการศึกษาพบว่า ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ได้ตอบข้อหารือให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการวินิจฉัยเหตุแห่งการเป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญาหรือกิจการที่ทำกับกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะใช้หลักการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม และหลักความเป็นกลางของเจ้าหน้าที่ มาเป็นหลักการในการวินิจฉัย ส่วนศาลปกครองพิจารณาจากข้อเท็จจริงเป็นรายกรณีไป ว่ามีการใช้อำนาจหน้าที่ในตำแหน่งในการแสวงหาประโยชน์หรือเบียดเบียนประโยชน์สาธารณะหรือไม่ รวมทั้งพิจารณาจากอำนาจหน้าที่ว่าดำรงตำแหน่งที่สามารถ ใช้อำนาจหน้าที่ในการสั่งการ อนุมัติ อนุญาต ในกิจการหรือการบริหารงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นนั้น เพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือพวกพ้องทั้งทางตรงหรือทางอ้อมหรือไม่ จึงทำให้คำพิพากษาของศาลปกครองในแต่ละกรณีมีความแตกต่างกัน | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.