Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. อรอนงค์ วิชัยคำ-
dc.contributor.authorสุนทรี จันทร์สวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-24T01:22:14Z-
dc.date.available2020-07-24T01:22:14Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69077-
dc.description.abstractDelay in patient discharge causes patient dissatisfaction with health care services and also adversely affects hospital revenue. The purpose of this developmental study was to develop a patient discharge process in the private ward of Lamphun Hospital. Study methodology was guided by Womack and Jones’s Lean concept (2003). The study population included 8 nursing staff working in private ward and 4 hospital managers. The research instruments used included 1) the patient discharge flow chart, 2) value analysis form, 3) time spent in activities record form, and 4) interview guidelines regarding problems in the new patient discharge process. Data were collected by observing time spent of each activity in the patient discharge process and were analyzed using descriptive statistics. The results were as follows: 1. The new patient discharge process was developed. It consisted of 4 major activities with several minor activities. 2. The previous patient discharge process was 159.60 minutes on average where as the new patient discharge process was 129.29 minutes on average. Discharge times decreased by 30.31 minutes. 3. The new process still had some problems, including delays in rechecking hospital bills and transferred patients from the ward. The results of the study show that the development of a working process using the Lean concept is applicable, decreases working time, and maintains quality of nursing services. Nursing administrators can apply the Lean concept to improve quality of services in other departments in the hospital.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนากระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยในหอผู้ป่วยพิเศษ โรงพยาบาลลำพูนen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a Patient Discharge Process in a Private Ward, Lamphun Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความล่าช้าในการจำหน่ายผู้ป่วยทำให้ผู้ป่วยไม่พึงพอใจการบริการทางสุขภาพและส่งผลเสียต่อรายได้ของทางโรงพยาบาล การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยในหอผู้ป่วยพิเศษ โรงพยาบาลลำพูน วิธีดำเนินการศึกษาอาศัยแนวคิดของวอแมก และ โจนส์ (Womack & Jones, 2003) ประชากรในการศึกษาคือบุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4 จำนวน 8 คน และผู้บริหารโรงพยาบาล จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แผนภูมิการจำหน่ายผู้ป่วย 2) แบบฟอร์มบันทึกการระบุคุณค่าของกิจกรรม 3) แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลเวลาในแต่ละกิจกรรม และ 4) แนวคำถามปัญหาในกระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยที่พัฒนาขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า 1. กระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยแบบใหม่ถูกพัฒนาขึ้น โดยประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก หลายกิจกรรมย่อย 2. เวลามาตรฐานที่ใช้ในกระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยเดิม เท่ากับ 159.60 นาที ส่วนเวลามาตรฐานในกระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยที่พัฒนาขึ้น เท่ากับ 129.29 นาที ลดลง 30.31 นาที 3. ปัญหาที่พบในกระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ เกิดความล่าช้าในการตรวจสอบค่ารักษาพยาบาลและการนำส่งผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การพัฒนากระบวนการทำงานที่ประยุกต์โดยแนวคิดลีน สามารถนำไปใช้ได้จริง ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงานและคงไว้ซึ่งคุณภาพของการบริการตามมาตรฐาน ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำแนวคิดลีนมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริการของหน่วยงานอื่นๆ ในองค์การได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.