Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. เพ็ญประภา ศิวิโรจน์-
dc.contributor.authorภัคจิรา ภูสมศรีen_US
dc.date.accessioned2020-07-24T01:21:48Z-
dc.date.available2020-07-24T01:21:48Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69073-
dc.description.abstractThe study was a descriptive study carried out to motive and protective behavioral strategies on alcohol drinking of the vocational students in Chiang Mai. Data collection was conducted by using self-administered questionnaire among 353 Vocational Students. Data were analyzed using descriptive statistic, percent, mean, standard deviation, chi-square test, and Pearson’s product moment correlation. The findings of this study are summarized as follows: 1) Almost 80.7 % of vocational student had drunk alcohol. Most of student aged 14 or 15 years had drunk alcohol in the first time. Most favorite alcohol beverage was beer at (70.2 %). Most of student 56.1% had drunk alcohol once or twice a year. They would drink heavily until they got drunk each time. The main reason for drinking alcohol was curiosity to taste at 59.3% 2) The overall of drinking motive moderate degree was correlation with alcohol use (r=0.530). Consideration a list aspects of drinking motives, social motive, coping with problems motives, enhancement motives, and conformity motives were significantly associated with alcohol use moderate degree of correlation with alcohol use (r = 0.430 - 0.530) 3) The overall of Protective Behavioral Strategies low degree was correlation with alcohol use (r=0.278). Consideration a list aspects of Protective Behavioral Strategies found that stopping/limiting drinking, manner of drinking were significantly associated with alcohol use. Serious negative consequences no significant correlations with alcohol use. Protective Behavioral Strategies drinking low degree was correlation with alcohol use (r = 0.067 - 0.430)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแรงจูงใจและกลวิธีเชิงพฤติกรรมการป้องกันต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMotives and Protective Behavioral, Strategies on Alcohol Drinking of the Vocational Students in Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจและกลวิธีเชิงพฤติกรรมการป้องกันต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการศึกษาในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามได้จำนวนตัวอย่าง 353 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) นักศึกษาอาชีวศึกษาเคยดื่มแอลกอฮอล์สูงถึงร้อยละ 80.7 ส่วนใหญ่ดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรกเมื่ออายุ 14 - 15 ปี โดยดื่มเบียร์มากที่สุด (ร้อยละ 70.2) เกือบครึ่งหนึ่ง ที่ดื่มแต่ละครั้งจนกระทั่งเมา และที่ดื่มปริมาณ 6 ดริ๊งค์ หรือมากกว่ามาตรฐานมีร้อยละ 56.1 ดื่มกับเพื่อนที่อายุไล่เลี่ยกันมีร้อยละ72.6 และสาเหตุการดื่มมาจากการอยากจะรู้รสชาติมีร้อยละ 59.3 2) แรงจูงใจในการดื่มแอลกอฮอล์ภาพรวมมีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์กันปานกลาง (r = 0.530) เมื่อพิจารณารายด้านของแรงจูงใจในการดื่มแอลกอฮอล์ ด้านแรงจูงใจส่งเสริม ด้านแรงจูงใจทางสังคม ด้านแรงจูงใจเพื่อการเผชิญปัญหา และด้านแรงจูงใจคล้อยตามกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์กันปานกลางเท่านั้น (r = 0.430 - 0.530) 3) กลวิธีเชิงพฤติกรรมการป้องกันการดื่มแอลกอฮอล์ภาพรวมมีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ (r = 0.278) เมื่อพิจารณารายด้านกลวิธีเชิงพฤติกรรมการป้องกันพบว่า การดื่มแอลกอฮอล์ด้านการหยุดหรือการจำกัดการดื่มแอลกอฮอล์ ด้านลักษณะการดื่ม มีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และด้านผลกระทบเชิงลบที่รุนแรงไม่มีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์กันระดับต่ำ (r = 0.067-0.430)en_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.