Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. เพ็ญประภา ศิวิโรจน์-
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ สว่างen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T06:07:03Z-
dc.date.available2020-07-21T06:07:03Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69000-
dc.description.abstractThe objectives of this study to explaining prevalence of delayed malaria treatment seeking and factors related to delay malaria treatment seeking in Mae Hong Son Province. The cases were malaria patients who were diagnosed and treated in Mae Hong Son Province between January – December 2012. 1,117 malaria patients were collected from Malaria Information System, the system is located at Bureau of Vector Borne Disease, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. The data was analyzed using descriptive statistics and Chi-square The results of this study indicated that the malaria patients who had diagnosed and treated more than 1 day or 24 hours after onset of symptoms were 70.4% defined treatment delay by using the WHO criteria (the period of time from onset of symptoms to malaria diagnosis and treatment with in 1 day or 24 hours). An average duration from onset of symptoms to time of diagnosis and treatment was 2.90 days. The factors significantly (p-value < 0.05) related to delay malaria treatment seeking were nationality, member in family, place of treatment, distance from house to place of treatment, slept in net, used mosquito repellent. There were not statistics significantly in gender, age, occupation and indoor residual spraying.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมารับการรักษาโรคไข้มาลาเรียช้าในจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Delayed Malaria Treatment Seeking in Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการมารับการรักษาโรคไข้มาลาเรียช้า และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมารับการรักษาช้าในจังหวัดแม่ฮ่องสอน กลุ่มประชากรเป็นผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียทั้งหมดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มารับการรักษาระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2555 จำนวน 1,117 คน โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล คัดเลือกข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลโรคมาลาเรีย สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และแสดงความสัมพันธ์ทางสถิติโดยวิธี Chi-square ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียมารับการรักษาช้าเกิน 1 วัน นับตั้งแต่มีอาการป่วย มีร้อยละ 70.4 โดยเฉลี่ยผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียมารับการรักษาภายใน 2.90 วัน ซึ่งช้ากว่าเกณฑ์ที่กำหนดเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกที่กำหนดไว้ให้ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียเข้ารับการตรวจและรักษาไม่เกิน 24 ชั่วโมงหรือ 1 วัน หมายความว่า ผู้ป่วยส่วนมากในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมารับการรักษาเกิน 1 วัน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 3 วัน โดยเปรียบเทียบกับจำนวนวันในการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียในจังหวัดแม่ฮ่องสอน และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาโรคไข้มาลาเรียช้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่ สัญชาติ จำนวนสมาชิกในบ้าน สถานบริการ ระยะทางระหว่างบ้านผู้ป่วยถึงสถานบริการ การนอนในมุ้ง และการใช้ยาทากันยุง ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาโรคไข้มาลาเรียช้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value > 0.05) ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ และการยอมรับการพ่นสารเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้างen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.