Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร วีระพร ศุทธากรณ์-
dc.contributor.authorมลฑา เพ็ชรสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:41:19Z-
dc.date.available2020-07-21T05:41:19Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68942-
dc.description.abstractDiarrhea is a common disease in local remote communities which is impossible for health care personnel to reach. This leads to the lack of knowledge and prevention of diarrhea among people in the community. This study was conducted to study the effects of the promoting personal hygiene practice program on knowledge, attitude, and behavior related to diarrhea prevention. Study sample were 30 Hmong hill tribe people in Ngao district, Lampang province. The program consisted of health education session and activities to promote community participation. Data were collected by questionnaire including 1) knowledge about diarrhea disease, 2) attitude, and 3) behavior related to diarrhea prevention. The data was analyzed using descriptive statistic and paired sample t-test. The research result found that after implementation of the program for 1 day and 1 month, participants had statistically significant higher average scores of knowledge, attitude and behavior related to diarrhea prevention, at level 0.05. Although there were increase of the number of people who had better knowledge and attitude related to diarrheal prevention, it was found that 50% of them had inaccurate behaviors. This especially related to hand washing before eating and milk preparation, or even let their children wash hands before eating. These poor practices pose a risk of getting diarrhea. Therefore a further study related to this issue needs to be developed. However, results from this study indicate a certain level of success of the promoting personal hygiene practices program. This program can be applied to other community areas to prevent such a common disease.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในชุมชนชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง อำเภองาว จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeThe Effects of the Promoting Personal Hygiene Practice Program on Knowledge, Attitude and Behavior Related to Diarrhea Prevention in Hmong Hill Tribe Community, Ngao District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคอุจจาระร่วงพบได้ทั่วไปในชุมชนที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดาน พื้นที่ห่างไกล เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพเข้าถึงได้ยาก ทำให้คนในชุมชนขาดการได้รับความรู้และการส่งเสริมเรื่องการป้องกันโรคอุจจาระร่วง การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นชุมชนชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง อำเภองาว จังหวัดลำปาง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงานวิจัยเป็นโปรแกรมการให้ความรู้อย่างเป็นระบบ และจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมและให้เข้ากับบริบทพื้นที่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วย 1) ความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง 2) ทัศนคติในการป้องกันโรคอุจจาระร่วง และ 3) พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วง วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณา และ เปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้ Paired Sample t-test ผลการศึกษาพบว่า หลังจากการเข้าร่วมโปรแกรม 1 วัน และ 1 เดือน กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรม ในการป้องกันโรคอุจจาระร่วง มากกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ถึงแม้ว่าจำนวนผู้ที่มีระดับความรู้และทัศนคติในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงที่ถูกต้องจะเพิ่มขึ้นภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม แต่ยังมีกลุ่มตัวอย่างประมาณร้อยละ 50 ที่มีการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคอุจจาระร่วงไม่ถูกต้องโดยเฉพาะประเด็นในเรื่องของการล้างมือก่อนการรับประทานอาหาร ก่อนการชงนม หรือการให้เด็กล้างมือก่อนจะ รับประทานอาหาร ซึ่งในกลุ่มนี้ยังมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอุจจาระร่วงได้ และควรจะได้มีการศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียดต่อไป อย่างไรก็ตามผลการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติสุขอนามัยส่วนบุคคล ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้าน ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม การป้องกันโรคอุจจาระร่วงในระดับหนึ่ง และควรจะได้มีการนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ชุมชนอื่นต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf6.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.