Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.นิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.authorณฐบดี บัวเย็นen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:38:32Z-
dc.date.available2020-07-21T05:38:32Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68923-
dc.description.abstractThis study entitled “People Participation in Solid Waste Management in Loung Nua Municipality, Doi Saket District, Chiang Mai Province” had the purpose of 1. Examining the people’s attitudes and behavior toward solid waste management. 2. Investigating the problems to understand the management of the solid waste and 3. Finding out the people’s participation and the procedure to encourage and train them about solid waste management of the Municipality. The research population consisted of 361 male and female residents including youth leaders in Loung Nua Municipality, Doi Saket District, Chiang Mai Province who filled out the distributed questionnaire. The findings were that most of the people put their solid waste in the black garbage bags and separated it according to the classification. They also tried to reduce and recycle and reuse it after the classification. The people were informed about the solid waste management and handling method as well as about the types of products that damaged the environment mainly by television. Their level of understanding about solid waste management was at a high level 15.842 points, and their participation in solid waste management was at a moderate level while the problems with the management was also at a moderate level. Accordingly, significance was given to the people’s understanding and some negligence of the problems. The relevant government agencies should look for ways to make the optimum use of benefits from the classification or separation of the waste.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย:กรณีศึกษาเทศบาลตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePeople Participation in Solid Waste Management in Loung Nua Municipality, Doi Saket District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย: กรณีศึกษา เทศบาลตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนต่อการบริหารจัดขยะมูลฝอย 2. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความเข้าใจของการบริหารจัดการขยะมูลฝอย และ 3. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม กระบวนการสร้างการฝึกฝนต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยการศึกษากลุ่มประชากร ได้แก่ ประชาชนทั่วไปทั้งชายและหญิงที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ ผู้นำเยาวชนทั้งชายและหญิง ซึ่งอาศัยในเทศบาลตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 361 คน โดยใช้ทั้งหมดเป็นผู้ให้ข้อมูลด้วยการแจกแบบสอบถามทั้งหมด ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะ ในเรื่องวิธีการจัดการขยะในชุมชน พบว่า ในขยะประเภทต่างๆ ที่ได้กำหนดขึ้นมา ประชาชนส่วนใหญ่ใช้วิธีการจัดการ โดยการใส่ถุงดำและแยกประเภทขยะเป็นส่วนใหญ่ ส่วนพฤติกรรมในการจัดการขยะในด้านต่างๆ 3 ด้าน คือ ด้านการลดการเกิดขยะมูลฝอย ด้านการนำกลับมาใช้ใหม่ และด้านการคัดแยกขยะมูลฝอย เรื่องการรับข้อมูลข่าวสารด้านการจัดการมูลฝอยในประเด็นต่างๆ ในการศึกษาครั้งนี้ พบว่าการรับข้อมูลข่าวสารด้านการจัดการมูลฝอย รูปแบบวิธีการจัดการมูลฝอย สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากแหล่งใดมากที่สุด คือสื่อทางโทรทัศน์ ส่วนความเข้าใจระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน พบว่าระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของชุมชนเท่ากับ 15.842 คะแนน ซึ่งจัดอยู่ระดับที่มากการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพปัญหาในการจัดขยะมูลฝอยในชุมชนในการศึกษาครั้งนี้ พบว่าอยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน จากผลการศึกษา พบว่าสภาพปัญหาในการจัดการขยะในชุมชนให้ความสำคัญมากในเรื่องของความรู้ความเข้าใจ และการไม่เห็นความสำคัญของการจัดการขยะในชุมชนอย่างจริงจังและหน่วยงานของรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรจะมีการตั้งโครงการ หรือการรวมกลุ่มคิดพัฒนานาขยะที่แยกแล้วมาทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.