Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์en_US
dc.contributor.authorสิทธิชัย วนจันทรรักษ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 34,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556), 131-137en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2556_34_2_338.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68912-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการฉีดยาระงับเส้นประสากขากรรไกรล่างด้วย อาร์ติเดน 4% ที่มีอิพิเนฟรินผสม 1:100,000 ต่อการไหลเวียนเลือดระดับจุลภาคของเนื้อเยื่อในฟัน โดยบันทึกการเปลี่ยนแปลงด้วยเครื่องเลเซอร์ดอปเปลอร์ โฟลว์มิเตอร์ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: การศึกษานี้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการพิทักษ์สิทธิ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การทดลองถูกทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาด้วยการทำสะพานฟันชนิดโลหะเคลือบพอร์ซเลน 3 ยูนิต ทดแทนฟันกรามซี่ที่หนึ่งลง ในอาสาสมัครจำนวน 16 ราย (อายุ 18-25 ปี) โดยฟันหลักทั้งสองซี่จะต้องเป็นฟันที่มีชีวิตและมีสภาพสมบูรณ์ การเตรียมฟันหลักทำภายใต้การฉีดยาชาเฉพาะที่ด้วยอาร์ติเดน 4% ที่มีอิพิเนฟริน 1:100,000 ผสมอยู่ วัดอัตราการไหลเวียนเลือดระดับจุลภาคด้วยเครื่องเลเซอร์ดอปเปลอร์โดยวางโพรบที่บริเวณกึ่งกลางด้านแก้มของฟันกรามน้อยซี่ที่สองและฟันกรามซี่ที่สอง ใส่ผื่อกพลาสติกทึบแสงชนิดทำขึ้นเองเพื่อช่วยวางตำแหน่งของโพรบและลดแสงสะท้อนที่ไม่ต้องการจากเนื้อเยื่อเหงือก บันทึกสัญญาณการไหลเวียนเลือดก่อน และวัดซ้ำ 5 นาที่หลังการฉีดยาระงับเส้นประสากขากรรไกรล่าง สัญญาณออกจะถูกแปลงและบันทึกเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลต่อไป ผลการศึกษา: ค่มัธยฐานของการไหลเวียนของเลือดของเนื้อเยื่อในที่วัดภายหลังการฉีดยาระงับเส้นประสาทขากรรไกรล่าง 5 นาที่ด้วย อาร์ติเดน 4% ที่มีอิพิเนฟริน 1:10,00 ผสมอยู่ ของฟันกรามน้อยซี่ที่สอง และฟันกรามซี่ที่สองมีค่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ 21.46 และ 19.78 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ค่า P น้อยกว่า 0.05 จึงจะถูกพิจารณาว่ามีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญ บทสรุป: ควรฉีดยาระงับเส้นประสากขากรรไกรล่างด้วย อาร์ติเดน 4% ผสมอิพิเนฟริน 1:100,000 ทำให้การไหลเวียนของเลือดของเนื้อเยื่อในลดลงอย่างมีนัยสำคัญ Objective: The aim of this study was to investigate the effects of mandibular nerve block with 4% articaine with epinephrine 1:100,000 on pulpal microcirculation recorded by laser Doppler flow-meter in vivo. Materials and methods: This study was approved by the Human Experimentation Committee of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. The experiment was performed as a part of a three-unit full-coverage porcelainfused-to-metal bridge treatment to replace a lost permanent mandibular first molar in sixteen volunteers (aged 18-25 years old). The vital and intact abutments were prepared under local anesthesia with 4% articaine with epinephrine 1: 100,000. Pulpal microcirculation was recorded using a laser Doppler flow-meter, by placing the fiber optic probe at the middle of the buccal surface of the second premolar and second molar teeth. Custom-made opaque plastic splints were used to position and to stabilize the probe and to minimize undesirable reflected light from the gingival tissues. The measurements were made before, and repeated five minutes after, a mandibular nerve block. The output signals were digitalized and fed into a lap-top computer for later analysis. Results: The medians of pulpal blood flow signals (measured five minutes after mandibular nerve block with 4% articaine with 1:100.000 epinephrine of both premolars and molars) showed significant reduction (21.46% and 19.78%, respectively), compared to the pre-block measurements. The p values less than 0.05 was considered significant difference. Conclusions: The mandibular nerve block with 4% articaine with 1:100.000 epinephrine caused significant reduction in pulpal blood flow signals.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectยาชาเฉพาะที่en_US
dc.subjectเครื่องมือเลเซอร์ดอปเปลอร์en_US
dc.subjectการไหลเวียนเลือดของเนื้อเยื่อในen_US
dc.subjectLocal anesthesiaen_US
dc.subjectlaser Doppler flow-meteren_US
dc.subjectpulpal blood flowen_US
dc.titleผลของการฉีดยายับยั้งเส้นประสาทขากรรไกรล่างด้วยยาชาอาติเคน 4 เปอร์เซ็นต์ผสมอิพิเนฟริน 1:100,000 ต่อสัญญาณการไหลเวียนโลหิตของเนื้อเยื่อในด้วยเครื่องมือเลเซอร์ดอปเปลอร์en_US
dc.title.alternativeEffects of mandibular nerve block with 4% articaine with epinephrine 1:100,000 on pulpal blood flow signals recorded by laser Doppler flow-meteren_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.