Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตรกร ทิพย์ธรรมวงศ์en_US
dc.contributor.authorบุญศิวา ซูซูกิen_US
dc.contributor.authorเอดวาร์ดโด้ ยูโก้ ซูซูกิen_US
dc.contributor.authorผาสุก มหรรฆานุเคราะห์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 34,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556), 81-91en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2556_34_2_334.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68910-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าแรงบิดสูงสุดของการฝังวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กในบริเวณกึ่ง กลางเพดานปากของศพผู้ใหญ่ที่มีและไม่มีปุ่มกระดูกเพดานปาก 2) วิเคราะห์ผลของขนาดปุ่มกระดูกเพดานปาก กับค่าแรงบิดสูงสุด การศึกษาครั้งนี้ใช้วัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.6 มม. และความยาว 6.0 มม. จำนวน 120 ตัวฝังบริเวณกึ่งกลางเพดานปากของศพผู้ใหญ่ 40 ชิ้นที่ตำแหน่ง ส่วนหน้าส่วนกลางและส่วนหลัง ของกระดูกเพดานปากวัดขนาด (ความกว้าง ความยาวและความสูง)และจัดกลุ่มของปุ่มกระดูกเพดานปาก ใช้เครื่องมือวัดแบบดิจิตอลในการวัดค่าแรงบิดสูงสุดของการฝังวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กและใช้การทดสอบแบบสติวเด้นท์ทวันเวยอะโนวาและเพียซองในการวิเคราะห์ทางสถิติ (P<0.05) ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยแรงบิดสูงสุดของวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กในกลุ่มที่มีปุ่มกระดูกเพดานปากเท่ากับ 16.5±6.1 นิวตันเซนติเมตรซึ่งมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีปุ่มกระดูกเพดานปากที่มีค่าเฉลี่ยแรงบิดสูง สุดของวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กเท่ากับ 9.6±5.4 นิวตันเซนติเมตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกตำแหน่งในบริเวณกึ่งกลางเพดานปากโดยพบค่าเฉลี่ยแรง บิดสูงสุดของวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กที่ตำแหน่งส่วนกลาง (20.9±5.8 นิวตันเซนติเมตร) มากกว่าค่าเฉลี่ยแรงบิดสูงสุดในส่วนหน้า (14.4+4.8 นิวตันเซนติเมตร) และส่วนหลัง (14.3±5.5 นิวตันเซนติเมตร) ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าเฉลี่ยแรงบิดสูงสุดของวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กในกระดูกเพดานปากที่ไม่มีปุ่มกระดูกเพดานทั้งตำแหน่งส่วนหน้า (9.2±6.1 นิวตันเซนติเมตร) ส่วนกลาง (10.146.2 นิวตันเซนติเมตร) และ ส่วนหลัง (9.3+3.6 นิวตันเซนติเมตร) และยังพบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญระหว่างค่าแรงบิดสูงสุด ของวัสดุ ฝังเกลียวขนาดเล็กกับความสูงของปุ่มกระดูกเพดานปากในตำแหน่งส่วนกลางของกระดูกเพดานปากอีกด้วย สรุปการฝังวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กบริเวณกึ่งกลางกระดูกเพดานปากที่มีปุ่มกระดูกทำให้ค่าแรงบิดสูงสุดของวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กมีค่สูงขึ้นและขนาด (ความสูง) ของปุ่มกระดูกเพดานปากมีความสัมพันธ์กับค่าแรงบิด สูงสุดที่เพิ่มขึ้นในปุ่มกระดูกเพดานปากที่มีขนาดใหญ่ The purposes of this study were 1) to compare the maximum insertion torque (MIT) values of miniscrews placed in the midpalatal bone of adult cadavers with and without Torus Palatinus (TP), and 2) to analyze the influence of the TP size on the MIT values. One hundred twenty self-drilling titanium miniscrews (6.0 mm length and 1.6 mm diameter) were placed at anterior median (AM), middle median (MM) and posterior median (PM) sites of the maxilla of 40 adult cadavers. TP sizes (height, width and length) were measured and classified. MIT values were assessed with a digital torque gauge. The Student t test, one-way analysis of variance (ANOVA) and Pearson correlation were performed for the statistical analysis (P<0.05). MIT values were significantly higher in the group with TP (16.5±6.1 Ncm) than the group without TP (9.6±5.4 Ncm) at all implants sites. The highest MIT value was observed at the MM site of the TP group (20.9±5.8 Ncm) while the MIT value at the AM site was 14.4±4.8 Ncm and that at the PM site was 14.3±5.5 Ncm. No significant differences in MIT values between AM (9.2±6.1 Ncm), MM (10.1±6.2 Ncm) and PM (9.3±3.6 Ncm) sites in the group without TP were observed. MIT values were correlated to the TP height at the MM sites. The presence of TP increased the MIT values during miniscrew insertion in the midpalatal region. TP size (height) is related to the MIT value in the middle median region of large TP.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กen_US
dc.subjectบริเวณกึ่งกลางเพดานปากen_US
dc.subjectแรงบิดสูงสุดของการฝังวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กen_US
dc.subjectปุ่มกระดูกเพดานปากen_US
dc.subjectMiniscrew implantsen_US
dc.subjectMidpalatal Regionen_US
dc.subjectMaximum Insertion Torque (MIT)en_US
dc.subjectTorus palatinus (TP)en_US
dc.titleการเปรียบเทียบแรงบิดสูงสุดระหว่างการฝังวัสดุฝังเกลียวขนาดเล็กในบริเวณกึ่งกลางเพดานปากของศพผู้ใหญ่ ที่มีและไม่มีปุ่มกระดูกเพดานปากen_US
dc.title.alternativeComparison of Maximum Insertion Torque Applied to Miniscrew Implants Placed in the Midpalatal Region of Adult Cadavers with and without Torus Palatinusen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.