Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68887
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฟาริดา เพียงสุขen_US
dc.contributor.authorสาวิตรี วะสีนนท์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:46Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:46Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 13-23en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_354.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68887-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractในปัจจุบันปริมาณผู้ป่วยโรคฟันตกกระ (dental fluorosis) มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โรคฟันตกกระนี้มีสาเหตุมาจากการที่ผู้ป่วยได้รับปริมาณฟลูออไรด์มากกว่าปกติในช่วงพัฒนาฟัน (tooth development) ทำให้เกิดความผิดปกติในการสะสมแร่ธาตุในตัวฟัน และแสดงลักษณะทางคลินิกคือมีแถบหรือจุดสีขาว สีเหลืองเข้ม หรือสีน้ำตาลเข้ม อาจพบภาวะการมีชั้นเคลือบฟันบกพร่องในบางตำแหน่งร่วมด้วย โดยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ภาวะนี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความสวยงามของผู้ป่วย ซึ่งเป็นอาการสำคัญที่นำให้ผู้ป่วยมาพบทันตแพทย์ ทางเลือกหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความสวยงามนี้คือการบูรณะฟันด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิต เพื่อปกปิดลักษณะที่ไม่พึงประสงค์ของฟัน ตกกระ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากฟันตกกระมีลักษณะทางโครงสร้างและการสะสมแร่ธาตุในตัวฟันที่แตกต่างไปจากฟันปกติ ทำให้ประสิทธิภาพในการยึดติดของฟันชนิดนี้กับวัสดุเรซินคอมโพสิตด้อยกว่าเมื่อเทียบกับฟันธรรมชาติที่ไม่มีพยาธิสภาพใดๆ ดังนั้นจึงได้มีความพยายามปรับปรุงการยึดติดระหว่างฟันตกกระและวัสดุเรซินคอมโพสิตให้ใกล้เคียงกับการยึดติดในฟันธรรมชาติมากที่สุด การทบทวนวรรณกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการยึดติดระหว่างวัสดุบูรณะเรซินคอมโพสิต และฟันตกกระทั้งในระดับชั้นเคลือบฟันและชั้นเนื้อฟัน เพื่อเป็นแนวทางสำหรับทันตแพทย์ในการยึดติดกับฟันตกกระในทางคลินิกได้อย่างเหมาะสม Dental fluorosis is one of the most common tooth pathologies affecting esthetic appearance in northern Thai population. Certain populations, especially those who live nearby highly fluoridated natural water resources, usually develop dental fluorosis by drinking such water. Furthermore, dental fluorosis can also cause by improper usage of high fluoride concentration materials for dental prevention. Patients who are suffering from dental fluorosis usually present to dental practice with esthetic concerns. To improve their esthetic appearance, direct resin bonding is one of the most common treatment options. Since fluorosed teeth somehow affect their ability to bond to resin composite with the use of adhesive systems, it is important to understand the nature of fluorosed enamel and dentin and their mechanism of adhesion. This review literature presents proper adhesive strategies in bonding to fluorosed enamel and dentin for a better clinical outcome.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectฟันตกกระen_US
dc.subjectการยึดติดen_US
dc.subjectDental fluorosisen_US
dc.subjectbondingen_US
dc.titleการยึดติดในฟันตกกระen_US
dc.title.alternativeAdhesive Strategies of Bonding to Fluorosed Teethen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.