Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอุมาพร วิมลกิตติพงศ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:42Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:42Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 25-35en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_386.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68860-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractปัจจุบันครอบฟันและสะพานฟันเซรามิกล้วนได้รับ ความนิยมและใช้อย่างแพร่หลาย เนื่องจากให้ความสวยงาม และถูกพัฒนาให้มีความแข็งแรงสามารถทดแทนฟันที่หาย ไปทั้งฟันหน้าและฟันหลัง ปัญหาที่พบภายหลังการใช้งาน เซรามิกล้วน คือ การแตกของเซรามิกส่วนวีเนียร์หรือส่วน แกน ซึ่งการซ่อมแซมด้วยวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตในช่อง ปากเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ป่วยที่ไม่ต้องการรื้อครอบ ฟันหรือสะพานฟันเพื่อทำชิ้นงานใหม่ การซ่อมแซมเซรามิก ที่แตกให้เกิดผลสำเร็จขึ้นกับความแข็งแรงของผิวยึดติด ระหว่างพื้นผิวเซรามิกกับเรซินคอมโพสิตที่สำคัญ คือ การ ยึดติดเชิงกลและทางเคมี ซึ่งจำเป็นต้องมีการเตรียมผิว ของเซรามิกให้เหมาะสมกับชนิดและองค์ประกอบของ เซรามิกส่วนที่เหลืออยู่เพื่อให้เกิดการยึดติดสูงสุด บทความ นี้จะกล่าวถึงการจำแนกเซรามิกล้วนแยกตามองค์ประกอบ เซรามิก อัตราการอยู่รอดและปัญหาที่พบภายหลังการ ใส่ครอบฟันเซรามิก ลักษณะการแตกของเซรามิก การซ่อมแซมครอบฟันเซรามิกล้วนที่แตกด้วยวัสดุเรซินคอม โพสิต และการเตรียมผิวครอบฟันเซรามิกล้วนที่แตกแบ่ง ตามชนิดของเซรามิก Nowadays, all-ceramic crowns and bridges become popular due to their beauty and they were developed to have sufficient strengths to replace both anterior and posterior missing teeth. One of the problems encountered after the uses of allceramic restorations is their breaking, which can be found in both veneer and core parts. Therefore, the intraoral repairs with resin composite filling are an alternative for the patients who do not want to remove the old restoration and make a new one. The success of ceramic repairs depends on their bonding strengths of ceramic surfaces and resin composites, which are caused by mechanical and chemical mechanisms. It is necessary to prepare broken ceramic surfaces treatment to fit to the types and the components of the broken ceramics in order to achieve the maximum adhesion. This article described the types and the components of all-ceramic crowns, their survival rates and problems after all-ceramic restoration, the characteristics of broken ceramic and surface treatment of broken all-ceramic crowns for resin composite repair and surface treatment.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเตรียมผิวen_US
dc.subjectครอบฟันเซรามิกen_US
dc.subjectซ่อมแซมแตกหักen_US
dc.subjectsurface treatmenten_US
dc.subjectall-ceramic crownsen_US
dc.subjectrepairen_US
dc.subjectbrokenen_US
dc.titleการซ่อมชิ้นงานบูรณะเซรามิกล้วนในช่องปากen_US
dc.title.alternativeIntraoral Repair of All Ceramic Restorationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.